รศ.นพ.จิตตินัดด์ หะวานนท์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล กล่าวว่า การอ่านคลื่นไฟฟ้าหัวใจมีความความสำคัญมากในการดูแลทุกกลุ่มโรค พยาบาลเป็นบุคลากรทางการแพทย์ ที่ให้การดูแลใกล้ชิดผู้ป่วยตลอด จิตตินัดด์ หะวานนท์4 ชั่วโมง ในทางคลินิกพยาบาลจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีทักษะและศักยภาพในการอ่านคลื่นไฟฟ้าหัวใจให้เป็น เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยได้อย่างทันท่วงทีหากผู้ป่วยมีภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ป้องกันการเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น
ทั้งนี้ จากการจัดโครงการพัฒนาความรู้ความสามารถของพยาบาลในการอ่านคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ประจำปี จิตตินัดด์ หะวานนท์558 ที่ผ่านมา ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการอ่านเพิ่มขึ้น ร้อยละ ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มีทักษะในการอ่านเพิ่มขึ้น มากกว่าร้อยละ 8ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ และได้รับความสนใจจากพยาบาลมากกว่า ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ คน มีเสียงส่วนใหญ่ให้ข้อเสนอแนะขอให้มีการจัดอีกครั้งในปีงบประมาณ จิตตินัดด์ หะวานนท์559 กลุ่มงานพยาบาล โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ จึงกำหนดจัดโครงการพัฒนาความรู้ความสามารถของพยาบาลในการอ่านคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ปีที่ จิตตินัดด์ หะวานนท์ การบรรยายทางวิชาการ เรื่อง " ECG Interpretation and MI fast track " ในวันที่ ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ5-ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ6 กันยายน จิตตินัดด์ หะวานนท์559 เวลา ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ8.3ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ-ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ5.3ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ น. ณ ห้องประชุมสถาพร กวิตานนท์ ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ อาคารบริการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถของพยาบาลในการอ่านคลื่นไฟฟ้าหัวใจ และเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถของพยาบาลในการให้การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะ Cardiac Arrhythmia ได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยใช้แนวคิดการสอน (education) การฝึก (coaching) การเป็นพี่เลี้ยงในการฝึกปฏิบัติ (mentoring) และการเสริมสร้างพลังอำนาจ (empowering) เพื่อให้บุคลากรทางการพยาบาลมีความรู้ความสามารถในการอ่านคลื่นหัวใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กลุ่มงานพยาบาล โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ จึงขอเชิญบุคลากรการแพทย์ ทางการพยาบาล นักศึกษา และผู้สนใจเข้าร่วมโครงการตามวัน เวลา และสถานที่ดังกล่าวข้างต้น ลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการ หรือสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ กลุ่มงานการพยาบาล ชั้น 4 อาคารกิตติวัฒนา โทร. 9334-5
รศ.นพ.จิตตินัดด์ หะวานนท์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล กล่าวว่า การอ่านคลื่นไฟฟ้าหัวใจมีความความสำคัญมากในการดูแลทุกกลุ่มโรค พยาบาลเป็นบุคลากรทางการแพทย์ ที่ให้การดูแลใกล้ชิดผู้ป่วยตลอด 24 ชั่วโมง ในทางคลินิกพยาบาลจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีทักษะและศักยภาพในการอ่านคลื่นไฟฟ้าหัวใจให้เป็น เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยได้อย่างทันท่วงทีหากผู้ป่วยมีภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ป้องกันการเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น ทั้งนี้ จากการจัดโครงการพัฒนาความรู้ความสามารถของพยาบาลในการอ่านคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ประจำปี 2558 ที่ผ่านมา ผู้
เอ็ม บี เค เซ็นเตอร์ สนับสนุนพื้นที่จัดกิจกรรมบริจาคโลหิต ในโครงการเลือดไม่แบ่งสี งานฟุตบอลประเพณีธรรมศาสตร์-จุฬาฯ ครั้งที่ 75
—
ศูนย์การค้าเอ็ม บี เค เซ็...
EnCo จัดกิจกรรมแข่งขันกอล์ฟการกุศล 'EnCo Golf Charity 2024' นำรายได้ส่วนหนึ่งบริจาคให้กับโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
—
นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร กรรมการ...
ไทยประกันชีวิตสนับสนุนโครงการ Thai Kit Spacer เพื่อผู้ป่วยโรคหืด
—
ศ.ดร.พญ. อรพรรณ โพชนุกูล ผู้อำนวยการศูนย์ความเป็นเลิศทางด้านโรคภูมิแพ้ โรคหืด และโรคระบ...
Unblock Your Heart for Every Heart ดูแลหัวใจ…ห่างไกลโรค
—
"โรคหัวใจ" เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของประชากรโลก ในทุก ๆ ปี มีคนกว่า 18 ล้านคนทั่วโลกเส...
บางจากฯ สนับสนุนอุปกรณ์การแพทย์ แก่โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
—
นายพิชัย ชุณหวชิร ประธานกรรมการบริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ในฐานะประธ...
เอ็นอีซี ประเทศไทย และศูนย์ธรรมศาสตร์ ธรรมรักษ์ เตรียมทดลองใช้แพลตฟอร์มสุขภาพดิจิทัล
—
บริษัท เอ็นอีซี คอร์ปอเรชั่น (ประเทศไทย) จำกัด หรือเอ็นอีซี ประเทศไ...
Dow ผนึกสถาบันพลาสติก บริจาคอุปกรณ์ช่วยพ่นยา ต่อลมหายใจผู้ป่วยโรคหืดทั่วประเทศ
—
กลุ่มบริษัท ดาว ประเทศไทย (Dow) ผู้นำด้านวัสดุศาสตร์ชั้นนำของโลก และสถาบ...
วิธีดูแลผู้สูงอายุที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อม จากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
—
ปัจจุบันผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นจ...