นิด้าโพล : “หน้าที่ของปวงชนชาวไทย”

          ศูนย์สำรวจความคิดเห็น "นิด้าโพล" สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) และคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ เปิดเผยผลสำรวจความคิดเห็นของประชาชน เรื่อง "หน้าที่ของปวงชนชาวไทย" ทำการสำรวจระหว่างวันที่ 18 – 19 มกราคม 2559 จากประชาชนที่มีอายุ 18 ปี ขึ้นไปทั่วประเทศ กระจายทุกระดับการศึกษาและอาชีพ รวมทั้งสิ้น จำนวน 1,25สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ หน่วยตัวอย่าง เกี่ยวกับการกำหนดหน้าที่ของคนไทยใน ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ การสำรวจอาศัยการสุ่มตัวอย่างจากบัญชีรายชื่อฐานข้อมูลตัวอย่างหลัก (Master Sample) ของ "นิด้าโพล" ด้วยความน่าจะเป็นแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) โดยแบ่งภูมิภาคออกเป็น 5 ภูมิภาค จากนั้นในแต่ละภาคสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ (Systematic Random Sampling) เก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ โดยกำหนดค่าความเชื่อมั่นที่ ร้อยละ 95.สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และ มีค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน (Standard Error: S.E.) ไม่เกิน 1.4
          จากการสำรวจ เมื่อถามถึงความคิดเห็นของประชาชนต่อการกำหนดในรัฐธรรมนูญว่า "การไม่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาตามที่กฎหมายบัญญัติจะทำให้บุคคลนั้นเสียสิทธิในการลงสมัครรับเลือกตั้งในทุกระดับ" พบว่า ประชาชน ส่วนใหญ่ ร้อยละ 67.84 ระบุว่า เห็นด้วย ขณะที่ร้อยละ 29.12 ระบุว่า ไม่เห็นด้วย ร้อยละ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.16 ระบุว่าอื่น ๆ ได้แก่ แล้วแต่กรณี ถ้ามีรายได้ไม่ถึงเกณฑ์ที่จะต้องเสียภาษีก็ไม่เห็นด้วย แต่ถ้ามีรายได้ถึงเกณฑ์ที่จะต้องเสียภาษีก็เห็นด้วย และร้อยละ 2.88 ไม่ระบุ/ไม่แน่ใจ
          ด้านความคิดเห็นของประชาชนต่อการกำหนดในรัฐธรรมนูญว่า "การไปใช้สิทธิเลือกตั้งทุกครั้งในปีภาษีใดจะได้สิทธิลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาประจำปีภาษีนั้น" พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 74.56 ระบุว่า เห็นด้วย รองลงมา ร้อยละ 21.92 ระบุว่า ไม่เห็นด้วย ร้อยละ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์8 ระบุอื่น ๆ ได้แก่ ละเว้นในบางกรณี เช่น อายุ 6สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปี ขึ้นไปให้ละเว้น และร้อยละ 3.44 ไม่ระบุ/ไม่แน่ใจ
          สำหรับความคิดเห็นของประชาชนต่อการกำหนดในรัฐธรรมนูญว่า "การร่วมมือและสนับสนุนการปกป้องคุ้มครอง สิ่งแวดล้อม เป็นหน้าที่ของปวงชนชาวไทย" พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 98.16 ระบุว่า เห็นด้วย ขณะที่ร้อยละ 1.6สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ระบุว่าไม่เห็นด้วย และร้อยละ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.24 ไม่ระบุ/ไม่แน่ใจ 
          ด้านความคิดเห็นของประชาชนต่อการกำหนดในรัฐธรรมนูญว่า "หน้าที่ของปวงชนชาวไทยต้องรวมถึงการไม่ใช้สิทธิและเสรีภาพในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดความแตกแยกหรือเกลียดชังในสังคม" พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 74.สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์8 ระบุว่า เห็นด้วย รองลงมา ร้อยละ 22.4สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ระบุว่า ไม่เห็นด้วย และร้อยละ 3.52 ไม่ระบุ/ไม่แน่ใจ
          ท้ายที่สุด เมื่อถามถึงความคิดเห็นของประชาชนต่อการกำหนดในรัฐธรรมนูญว่า "การไปใช้สิทธิเลือกตั้งในทุกระดับเป็นหน้าที่ของประชาชนชาวไทย" พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 97.84 ระบุว่า เห็นด้วย ขณะที่ ร้อยละ 2.สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ระบุว่าไม่เห็นด้วย และร้อยละ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.16 ไม่ระบุ/ไม่แน่ใจ
          เมื่อพิจารณาลักษณะทั่วไปของตัวอย่าง พบว่า ตัวอย่างร้อยละ 8.64 มีภูมิลำเนาอยู่กรุงเทพฯ ร้อยละ 25.52 มีภูมิลำเนาอยู่ปริมณฑลและภาคกลาง ร้อยละ 18.สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์8 มีภูมิลำเนาอยู่ภาคเหนือ ร้อยละ 33.6สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ มีภูมิลำเนาอยู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และร้อยละ 14.16 มีภูมิลำเนาอยู่ภาคใต้ ตัวอย่าง ร้อยละ 55.52 เป็นเพศชาย และร้อยละ 44.48 เป็นเพศหญิง ตัวอย่าง ร้อยละ 6.64 มีอายุ 18 – 25 ปี ร้อยละ 16.56 มีอายุ 26 – 35 ปี ร้อยละ 26.24 มีอายุ 36 – 45 ปี ร้อยละ 33.76 มีอายุ 46 – 59 ปี ร้อยละ 15.36 มีอายุ 6สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปีขึ้นไป และร้อยละ 1.44 ไม่ระบุอายุ ตัวอย่าง ร้อยละ 93.92 นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 3.12 นับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ 1.สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์4 นับถือศาสนาคริสต์และอื่น ๆ และร้อยละ 1.92 ไม่ระบุศาสนา 
          ตัวอย่าง ร้อยละ 18.48 สถานภาพโสด ตัวอย่างร้อยละ 78.16 สมรสแล้ว ตัวอย่างร้อยละ 1.2สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ หม้าย หย่าร้าง แยกกันอยู่ และ ร้อยละ 2.16 ไม่ระบุสถานภาพการสมรส ตัวอย่างร้อยละ 26.8สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ จบการศึกษาประถมศึกษาหรือต่ำกว่า ร้อยละ 31.28 จบการศึกษามัธยมศึกษาหรือเทียบเท่า ร้อยละ 7.12 จบการศึกษาอนุปริญญาหรือเทียบเท่า ร้อยละ 27.6สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ จบการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ร้อยละ 4.4สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ จบการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า และร้อยละ 2.8สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ไม่ระบุการศึกษา ตัวอย่างร้อยละ 13.92 ประกอบอาชีพข้าราชการ/ลูกจ้าง/พนักงานรัฐวิสาหกิจ ร้อยละ 13.28 ประกอบอาชีพพนักงานเอกชน ร้อยละ 21.2สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ประกอบอาชีพเจ้าของธุรกิจ/อาชีพอิสระ ร้อยละ 16.สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์8 ประกอบอาชีพเกษตรกร/ประมง ร้อยละ 17.6สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป/ผู้ใช้แรงงาน ร้อยละ 12.8สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เป็นพ่อบ้าน/แม่บ้าน/เกษียณอายุ/ว่างงาน ร้อยละ 2.72 เป็นนักเรียน/นักศึกษา และร้อยละ 2.4สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ไม่ระบุอาชีพ ตัวอย่างร้อยละ 13.36 ไม่มีรายได้ 
          ร้อยละ 22.สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนไม่เกิน 1สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์,สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ บาท ร้อยละ 35.2สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 1สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์,สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์1 – 2สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์,สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ บาท ร้อยละ 11.6สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 2สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์,สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์1 – 3สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์,สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ บาท ร้อยละ 6.64 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 3สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์,สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์1 – 4สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์,สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ บาท ร้อยละ 5.12 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนมากกว่า 4สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์,สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์1 บาทขึ้นไป และร้อยละ 6.สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์8 ไม่ระบุรายได้
นิด้าโพล : “หน้าที่ของปวงชนชาวไทย”

ข่าวสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์+สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตวันนี้

เวฟ เอกซ์โพเนนเชียล ผนึก NIDA เปิดการอบรมหลักสูตร "ผู้บริหารระดับสูงด้านเศรษฐกิจเพื่อสิ่งแวดล้อม"

นายเอกนัฏ พร้อมพันธุ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม เป็นประธานเปิดการอบรมหลักสูตร"ผู้บริหารระดับสูงด้านเศรษฐกิจเพื่อสิ่งแวดล้อม" หรือ NIDA Bio Circular Green Economy Executive Program (NIDA BCG) จัดโดย เวฟ บีซีจี (Wave BCG) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของ บมจ.เวฟ เอกซ์โพเนนเชียล ร่วมกับสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) โดยมีนายถิรพงศ์ คำเรืองฤทธิ์ (กลาง) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บมจ.เวฟ เอกซ์โพเนนเชียล หรือ (WAVE) และรศ. ดร.ดนุวัศ สาคริก (ซ้าย) รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะรัฐประศาสนศาสตร์

นางกลอยตา ณ ถลาง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ... บางจากฯ แบ่งปันแนวคิดการจัดการงานสื่อสาร แนวคิดการบริหารธุรกิจอย่างมีสมดุล เพื่อความยั่งยืน — นางกลอยตา ณ ถลาง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ งานบริหารความยั่งยื...

โบลท์ ร่วมฉลองวันปลอดรถโลก พร้อมการเติบโต... โบลท์ (Bolt) เผยสถิติ คนไทยมีแนวโน้มหันมาเลือกการเดินทางแบบปลอดมลพิษมากขึ้น — โบลท์ ร่วมฉลองวันปลอดรถโลก พร้อมการเติบโตอย่างก้าวกระโดดของหมวดรถยนต์ไฟฟ้า (...

บริษัท ผลธัญญะ จำกัด (มหาชน) หรือ PHOL ผู... PHOL เปิดบ้านต้อนรับนักศึกษาปริญญาตรีควบโท วิศวกรรมการเงิน KMITL-NIDA เยี่ยมชมบริษัท — บริษัท ผลธัญญะ จำกัด (มหาชน) หรือ PHOL ผู้ประกอบธุรกิจจัดจำหน่ายสิน...