จากกรณีไฟปริศนาลุกไหม้สิ่งของภายในบ้านของ นายล้อม ศักดิ์หวาน ชาวบ้าน 6 ต.ตะโหมด อ.ตะโหมด จ.พัทลุง ซึ่งเป็นมาตั้งแต่ช่วงเดือนมีนาคมที่ผ่านมาจำนวนเกือบ 2กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้ง นั้น ซึ่งเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์กันอย่างกว้างขวาง นายสมชาย เทียมบุญประเสริฐ รองปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในฐานะโฆษกกระทรวงฯ กล่าวว่า กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ได้ส่งนักวิจัยจาก ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอมเทค) ภายใต้ สำนักงานงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) นักวิจัยจากกรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) และนักวิจัยจากสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน ลงพื้นที่เพื่อตรวจหาสาเหตุเมื่อวันที่ 27 เมษายน ที่ผ่านมา โดยนักวิจัยได้นำเครื่องวัดอุณหภูมิ และเครื่องตรวจวัดแก๊สระดับภาคสนาม เพื่อดูองค์ประกอบทางฟิสิกส์ ตลอดจนคุณสมบัติของสะสารของวัสดุแต่ละชนิด รวมทั้งได้เก็บตัวอย่างวัสดุที่เกิดการเผาไหม้ทั้งพลาสติก ผ้า ดิน และวัสดุอื่น ๆ มาวิเคราะห์ทดสอบ โดยขณะนี้กำลังวิเคราะห์อย่างละเอียดอีกครั้ง เนื่องจากในเบื้องต้นพบสารเคมีหลายชนิดแต่ยังไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นสาเหตุของการติดไฟหรือไม่ โดยยืนยันการทำงานยึดหลักเหตุผลทางวิทยาศาสตร์
ทั้งนี้ โฆษกกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ย้ำว่า ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ได้ให้นโยบายในการพิสูจน์Rกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี3;เรื่องลักษณะRกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี3;นี้ว่าRกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี3; ให้ยึดหลักการไต่สวนทางวิทยาศาสตร์Rกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี3;เป็นสำคัญRกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี3; โดยพิจารRกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี3;ณาทั้งเรื่องของปฎิกิริยาRกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี3;เคมีในการทำให้เกิดการลุกไหม้อย่างฉับพลันRกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี3; หรือRกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี3; SpontaneousRกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี3; Combustion Rกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี3;Rกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี3;ที่อาจเป็นไปได้ และการกระทำของมนุษย์ ส่วนเรื่องการประสานงานกับ คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยทักษิณ ซึ่งเป็นเครือข่ายของกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ พร้อมด้วยทีมวิจัย และปราชญ์ชาวบ้าน ได้ลงพื้นที่ตรวจหาสาเหตุนั้น ได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง คือการติดตั้งวงจรปิดและ เครื่องตรวจจับก๊าซ 3 ชนิดที่ต้องสงสัยว่าเป็นสื่อติดไฟคือ มีเทน ไฮโดรเจน และก๊าซไข่เน่า โดยใช้เครื่องวัดแบบ Real time เป็นเวลา 24 ชั่วโมง เพื่อนำไปวิเคราะห์อย่างละเอียด ส่วนผลจะเป็นอย่างไรนั้นต้องรอในพื้นที่สรุปข้อมูลในเชิงวิทยาศาสตร์กลับมาก่อน
สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จัดงานประชุมวิชาการสารอาหารและสารพฤกษเคมี ครั้งที่ 1 ในวันศุกร์ที่ 2 สิงหาคม 2562 เวลา 08.00 16.00 น. ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค กรุงเทพฯ การจัดงานประชุมวิชาการครั้งนี้ เพื่อแลกเปลี่ยนและเรียนรู้ในด้านการวิจัยทางโภชนาการรวมไปถึงการทดสอบเพื่อประกอบการขึ้นทะเบียนกับ อย. โดยความร่วมมือระหว่างกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) หรือ ทีเซลส์ (TCELS) ฝ่ายโปร
ทีเซลส์ จับมือร่วมกับ มูลนิธิอัลไซเมอร์แห่งประเทศไทย จัดกิจกรรม “สร้างสรรค์สังคมไทย ห่างไกลอัลไซเมอร์” ครั้งที่ 10
—
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย ศู...
ทีเซลส์ จับมือจุฬาฯ แถลงผลวิจัยสำเร็จใช้เซลล์นักฆ่ารักษาผู้ป่วยมะเร็งเม็ดเลือดขาว
—
ที่มา: ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาตร์ (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศ...
ทีเซลส์ จับมือร่วมกับจุฬาฯ จัดงานแถลงข่าว “ก้าวแรกสู่ความสำเร็จ การรักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวด้วยเซลล์นักฆ่า”
—
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย ศูนย์ความเ...
ทีเซลส์ ขับเคลื่อนงานประชุมระดับนานาชาติ “หุ่นยนต์ทางการแพทย์”
—
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) หรื...
ทีเซลส์ ผลักดันเทคโนโลยีระดับห้องปฏิบัติการสู่การนำไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์
—
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์ก...
ทีเซลส์ ขับเคลื่อนงานประชุมระดับนานาชาติ “หุ่นยนต์ทางการแพทย์”
—
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) หรื...
TCELS จับมือร่วมกับ สวทช. หนุนการวิจัย พัฒนา และทดสอบทางคลินิก อาหารฟังก์ชั่น เปิดรับสมัครผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอาหาร ตอบโจทย์สังคมผู้สูงวัย
—
กระทรวงวิทย...
ทีเซลส์ ขับเคลื่อนการใช้เซลล์ต้นกำเนิดของไทยด้วยเครือข่ายนักวิจัยเซลล์ต้นกำเนิด
—
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (อ...
ทีเซลส์ เชิญชวนผู้ประกอบการ SMEs สมัครเข้าร่วมโครงการ “คุณภาพ ความปลอดภัย และประสิทธิผลของเครื่องสำอางและเสริมอาหาร”
—
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยศ...