นายธีรัชย์ อัตนวานิช รองผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะในฐานะโฆษกสำนักงานบริหาร หนี้สาธารณะ ได้แถลงข่าวการดำเนินงานของสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) ดังนี้
สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ. รายงานหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2558
ยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ณ 3สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ มีนาคม 2558 มีจำนวนทั้งสิ้น 5,73ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ,5สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ9.23 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 43.33 ของ GDP เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า หนี้สาธารณะเพิ่มขึ้นสุทธิ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ,ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ93.66 ล้านบาท ทั้งนี้ สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP มีการเปลี่ยนแปลงลดลงอย่างมีนัยสำคัญ เนื่องจากเมื่อวันที่ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ8 พฤษภาคม 2558สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้ปรับปรุงวิธีการคำนวณ GDP และปรับประมาณการในปี 2558 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
หนี้ของรัฐบาลเพิ่มขึ้น 23,846.สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ล้านบาท ซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญเกิดจาก
- การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ จำนวน สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ6,สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ2.76 ล้านบาท
- การเพิ่มขึ้นของตั๋วเงินคลังเพื่อบริหารดุลเงินสด จำนวน 5,ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ ล้านบาท
- การกู้เงินเพื่อการลงทุนจากแหล่งเงินกู้ในประเทศและต่างประเทศ จำนวน 2,398.ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ8 ล้านบาท ประกอบด้วย การให้กู้ต่อแก่การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยและการรถไฟแห่งประเทศไทย สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ,956.ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ8 ล้านบาท สำหรับโครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียว สายสีน้ำเงิน สายสีม่วง รถไฟสายสีแดงและโครงการปรับปรุงทางรถไฟที่ไม่ปลอดภัย และการเบิกจ่ายเงินกู้เพื่อใช้ในโครงการฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) 442 ล้านบาท
- การเบิกจ่ายเงินกู้ภายใต้ พ.ร.ก. บริหารจัดการน้ำและสร้างอนาคตประเทศ จำนวน 2ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ ล้านบาท
- การกู้เงินเพื่อปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาลล่วงหน้าที่จะครบกำหนดในวันที่ 22 พฤษภาคม
2558 จำนวน 9,ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ4 ล้านบาท
- การชำระหนี้ที่กู้มาเพื่อชดเชยความเสียหายให้แก่กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ จำนวน 5,ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ ล้านบาท
สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ83; หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงินมียอดหนี้คงค้างลดลง 9,สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ95.48 ล้านบาท ซึ่งในเดือนมีนาคม 2558 มีการเบิกจ่ายเงินกู้จากแหล่งเงินกู้ต่างประเทศเพื่อลงทุนในโครงการสำคัญๆ ได้แก่ โครงการปรับปรุงกิจการประปาแผนหลักของการประปานครหลวง และโครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง ของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย
หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) มียอดหนี้คงค้างลดลง 3,334.9ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ ล้านบาท เนื่องจากการชำระหนี้เงินต้นของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
หนี้หน่วยงานของรัฐ มียอดหนี้คงค้างลดลง สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ,222.ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ7 ล้านบาท เนื่องจากการชำระหนี้เงินต้นของกองทุนอ้อยและน้ำตาล สำนักงานธนานุเคราะห์ และมหาวิทยาลัยพะเยา
การที่หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) และหนี้หน่วยงานของรัฐมียอดหนี้คงค้างลดลง เนื่องจากมีการชำระคืนมากกว่าการเบิกจ่ายเงินกู้ และจากผลของการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยน
หนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2558 เท่ากับ 5,73ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ,5สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ9.23 ล้านบาท แบ่งเป็นหนี้ในประเทศ 5,388,8ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ3.3สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ล้านบาท หรือเท่ากับร้อยละ 94.ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ4 และหนี้ต่างประเทศ 34สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ,7สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ5.92 ล้านบาท (ประมาณ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ,385.37 ล้านเหรียญสหรัฐ) หรือเท่ากับร้อยละ 5.96 ของยอดหนี้สาธารณะคงค้าง และ หากเปรียบเทียบกับเงินสำรองระหว่างประเทศ จำนวน สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ57,37ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ.68 ล้านเหรียญสหรัฐแล้ว (ข้อมูล ณ 27 มีนาคม 2558) หนี้ต่างประเทศจะคิดเป็นสัดส่วนเพียงร้อยละ 6.6ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ ของเงินทุนสำรองระหว่างประเทศ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงเสถียรภาพและความมั่นคงในด้านการเงินของประเทศ
โดยหนี้สาธารณะแบ่งออกเป็นหนี้ระยะยาวถึง 5,57ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ,643.93 ล้านบาท หรือร้อยละ 97.2สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ และมีหนี้ระยะสั้นเพียง สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ59,875.3ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ ล้านบาท หรือร้อยละ 2.79
2. รายงานผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐที่ดำเนินการโดยสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะประจำเดือนมีนาคม 2558
สบน. มีการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ วงเงินรวม 9ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ,8ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ5.83 ล้านบาท แบ่งเป็น หนี้ของรัฐบาล จำนวน 62,995.76 ล้านบาท และหนี้รัฐวิสาหกิจ จำนวน 27,8สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ.ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ7 ล้านบาท
v การบริหารจัดการหนี้ของรัฐบาล วงเงิน 62,995.76 ล้านบาท ประกอบด้วย
ผลการกู้เงินในประเทศของรัฐบาล จำนวน สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ8,สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ67.89 ล้านบาท
- การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ จำนวน สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ6,สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ2.76 ล้านบาท โดยการออกพันธบัตรรัฐบาล 2 รุ่น จำนวน สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ5,ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ ล้านบาท มีอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยที่ร้อยละ 3.53 ต่อปี และพันธบัตรออมทรัพย์ จำนวน สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ,สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ2.76 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 3.25 ต่อปี
- การเบิกจ่ายเงินกู้เพื่อวางระบบบริหารจัดการน้ำ จำนวน 2ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ ล้านบาท จากสัญญาเงินกู้วงเงิน สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ5,393 ล้านบาท ที่ได้ลงนามในสัญญาเงินกู้เมื่อวันที่ 3ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ เมษายน 2556 ภายใต้ พ.ร.ก. บริหารจัดการน้ำและสร้างอนาคตประเทศฯ
- การเบิกจ่ายเงินกู้ให้กู้ต่อ จำนวน สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ,423.สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ3 ล้านบาท
- การเบิกจ่ายเงินกู้ จำนวน 442 ล้านบาท ซึ่งเป็นการกู้เงินบาททดแทนเงินกู้จากธนาคารโลก เพื่อใช้ในโครงการเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) ที่ได้ลงนามในสัญญาเงินกู้เมื่อวันที่ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ9 ธันวาคม 2557 วงเงิน 2,5ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ ล้านบาท
การเบิกจ่ายเงินกู้จากต่างประเทศของรัฐบาล จำนวน 6ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ7.ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ7 ล้านบาท ประกอบด้วยการเบิกจ่ายเงินกู้จากธนาคารพัฒนาเอเชีย จำนวน 74.สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ2 ล้านบาท สำหรับโครงการก่อสร้างทางสายหลักให้เป็น 4 ช่องการจราจร (ระยะที่ 2) ของกรมทางหลวง และการเบิกจ่ายเงินกู้จากองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของญี่ปุ่น จำนวน 532.95 ล้านบาท สำหรับโครงการรถไฟสายสีแดง ของการรถไฟแห่งประเทศไทย
การปรับโครงสร้างหนี้ในประเทศของรัฐบาล จำนวน 23,ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ4 ล้านบาท แบ่งเป็น
- ปรับโครงสร้างหนี้สัญญาเงินกู้ระยะสั้น ที่ออกภายใต้ พ.ร.ก ช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ (FIDF สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ) จำนวน สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ4,ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ ล้านบาท โดยการออกพันธบัตรรัฐบาลทั้งจำนวน
- การปรับโครงสร้างหนี้ล่วงหน้า สำหรับพันธบัตรรัฐบาลที่จะครบกำหนดในวันที่ 22 พฤษภาคม 2558 การออก R-bill จำนวน 9,ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ4 ล้านบาท
สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ83;การชำระหนี้ของรัฐบาล จำนวน 2สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ,2ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ6.8ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ ล้านบาท แบ่งเป็น
- การชำระหนี้โดยใช้เงินจากงบประมาณ จำนวน สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ,297.65 ล้านบาท แบ่งเป็น ชำระต้นเงิน 3,ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ ล้านบาท และชำระดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม 8,297.65 ล้านบาท
- การชำระหนี้ที่รัฐบาลกู้มาเพื่อชดเชยความเสียหายให้แก่กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ จำนวน 8,97ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ.22 ล้านบาท โดยใช้เงินค่าธรรมเนียมที่ธนาคารแห่งประเทศไทยได้รับจากธนาคารพาณิชย์ภายใต้ พ.ร.ก. ปรับปรุงการบริหารหนี้เงินกู้ที่กระทรวงการคลังกู้เพื่อช่วยเหลือ FIDF ฯ แบ่งเป็น ชำระต้นเงิน 5,ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ ล้านบาท ชำระดอกเบี้ย 3,97ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ.22 ล้านบาท
- การชำระหนี้ของเงินกู้ให้กู้ต่อของการรถไฟแห่งประเทศไทย จำนวน 938.93 ล้านบาท
โดยใช้เงินงบประมาณของการรถไฟแห่งประเทศไทย
v การบริหารจัดการหนี้รัฐวิสาหกิจ วงเงิน 27,8สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ.ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ7 ล้านบาท ประกอบด้วย
การกู้เงินในประเทศของรัฐวิสาหกิจ จำนวน 2,9ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ ล้านบาท แบ่งเป็น การออกพันธบัตรที่กระทรวงการคลังไม่ค้ำประกันของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จำนวน 2,ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ ล้านบาท และการทำสัญญาเงินกู้กับธนาคารพาณิชย์ซึ่งกระทรวงการคลังค้ำประกันของการเคหะแห่งชาติ จำนวน 9ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ ล้านบาท
การเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศของรัฐวิสาหกิจ จำนวน สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ.ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ7 ล้านบาท แบ่งเป็นการเบิกจ่ายของการประปานครหลวง 9ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ.ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ3 ล้านบาท และการเบิกจ่ายของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย 2ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ.ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ4 ล้านบาท
การปรับโครงสร้างหนี้ในประเทศของรัฐวิสาหกิจ ในเดือนมีนาคม 2558 รัฐวิสาหกิจได้มีการปรับโครงสร้างหนี้ในประเทศ โดยการขยายอายุสัญญาเงินกู้ของการรถไฟแห่งประเทศไทย การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ธนาคารอาคารสงเคราะห์ และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร วงเงินรวม 24,8ผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ ล้านบาท
นายธีรัชย์ อัตนวานิช รองผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ได้รายงานสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง และผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ ดังนี้ หนี้สาธารณะคงค้าง ณ 30 มิถุนายน 2559 มีจำนวน 5,924,055.53 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 42.83 ของ GDP โดยแบ่งเป็น หนี้ของรัฐบาล จำนวน 4,373,288.14 ล้านบาท หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็น สถาบันการเงิน จำนวน 1,021,940.40 ล้านบาท หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) จำนวน 517,517.92 ล้านบาท และหนี้หน่วยงานของรัฐ จำนวน 11,309.07 ล้านบาท และเมื่อเปรียบ
ภาพข่าว: ผอ.สบน.แถลงรายงานหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ก.พ.2559 และผลการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐที่ดำเนินการโดย สบน. ประจำเดือน ก.พ.2559
—
นายสุวิชญ โรจนวา...