ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ โรคอาหารเป็นพิษ นครสวรรค์ ร่วมกับตลาดศูนย์การค้ากำแพงเพชรพัฒนาห้องปฏิบัติการตรวจสอบสารพิษตกค้างในผักผลไม้ เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัยของอาหารที่จำหน่ายในตลาดฯ เผยผลการตรวจผักผลไม้ที่ผ่านมายังมีสารตกค้างแต่อยู่ในระดับปลอดภัย พร้อมเดินหน้าตรวจสอบการปนเปื้อนของเชื้ออีโคไลและเชื้อซาลโมเนลลาซึ่งเป็นเชื้อก่อโรคอาหารเป็นพิษ ในผักสด กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์จุรีภรณ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ชนิดที่นิยมบริโภคเป็นผักแกล้มแบบสดๆ
นางจุรีภรณ์ บุณยวงศ์วิโรจน์รองอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กล่าวว่าผักและผลไม้ถือเป็นผลผลิตทางเกษตรที่สำคัญของประเทศไทย นอกจากการบริโภคภายในประเทศแล้วยังเป็นสินค้าส่งออกไปจำหน่ายยังต่างประเทศด้วย ศูนย์วิทยาศาสตร์ศูนย์วิทยาศาสตร์จุรีภรณ์ บุณยวงศ์วิโรจน์;ตลาดกลางค้าส่งหรือตลาดขนาดใหญ่ศูนย์วิทยาศาสตร์ศูนย์วิทยาศาสตร์กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์; จึงมีบทบาทสำคัญในการเป็นแหล่งรวบรวมกระจายสินค้าพืชผลทางการเกษตรที่ครอบคลุมทั่วประเทศ แต่ที่ผ่านมายังคงพบว่ามีการใช้สารเคมีเพื่อกำจัดศัตรูพืช และตรวจพบการตกค้างของสารเคมีอยู่ในผลผลิตทางการเกษตรซึ่งมีผลให้ผู้บริโภคมีความเสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคต่อมไร้ท่อ และโรคอื่นๆ การตรวจเฝ้าระวังคุณภาพสินค้าที่เป็นผลผลิตทางเกษตรก่อนจะกระจายไปยังตลาดสดค้าปลีกทั่วไปจึงเป็นสิ่งสำคัญในการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพตลอดจนด้านอาหารปลอดภัย
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้จัดทำโครงการพัฒนาตลาดกลางค้าส่งผักสด/ผลไม้สด เพื่อผู้บริโภคปลอดภัยมาตั้งแต่ ปี ศูนย์วิทยาศาสตร์555 นำร่องในตลาดกลางค้าส่งจำนวน กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์จุรีภรณ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ แห่ง และตลาดศูนย์การค้ากำแพงเพชรก็เป็นกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในตลาดนำร่องที่เข้าร่วมโครงการฯดังกล่าว โดยศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ โรคอาหารเป็นพิษ นครสวรรค์ได้ให้การสนับสนุนแนะนำ ในการปรับปรุงห้องเพื่อใช้เป็นสถานที่ตรวจสอบสารเคมีกำจัดแมลงตกค้างในผักสด/ผลไม้สด และสารปนเปื้อนในอาหารสด 4 ชนิดแก่ตลาดศูนย์การค้ากำแพงเพชร และตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์-กันยายน ศูนย์วิทยาศาสตร์556 ก็ได้มีการสุ่มตรวจผักสดที่จำหน่ายในตลาดฯจำนวน กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์จุรีภรณ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ชนิดที่เคยพบการปนเปื้อนสารเคมีกำจัดแมลง ได้แก่ คะน้า ตำลึง ถั่วฝักยาว ผักกาดขาว ผักบุ้ง กวางตุ้ง คื่นช่าย โหระพา กะเพรา และพริก รวม 45โรคอาหารเป็นพิษ ตัวอย่าง พบสารพิษตกค้าง โรคอาหารเป็นพิษ4 ตัวอย่างแต่อยู่ในระดับปลอดภัย อีก 4กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์9 ตัวอย่างไม่พบสารพิษตกค้าง และในปี ศูนย์วิทยาศาสตร์557 ได้สุ่มตรวจผักผลไม้ จำนวน กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ศูนย์วิทยาศาสตร์ ตัวอย่าง ผลการตรวจไม่พบสารเคมีกำจัดแมลงตกค้าง ทั้ง กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ศูนย์วิทยาศาสตร์ ตัวอย่าง แต่พบเชื้ออีโคไล ซึ่งเป็นเชื้อก่อโรคอาหารเป็นพิษปนเปื้อน กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ตัวอย่าง
ด้านนายสังคม วิทยนันท์ ผอ.ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ โรคอาหารเป็นพิษ นครสวรรค์กล่าวว่าเพื่อเป็นการเฝ้าระวังการปนเปื้อนของเชื้ออีโคไลและเชื้อซาลโมเนลลา ซึ่งเป็นเชื้อก่อโรคอาหารเป็นพิษที่อาจมีการปนเปื้อนในพืชผลทางการเกษตร ทางศูนย์วิทย์ฯนครสวรรค์ได้มีการสุ่มตรวจผักสดซึ่งเป็นผักที่ผู้บริโภคนิยมรับประทานเป็นผักแกล้มแบบสดๆจำนวน กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์จุรีภรณ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ชนิดได้แก่ ผักกาดหอม ต้นหอม ผักชี กะหล่ำปลี ผักชีฝรั่ง โหระพา สะระแหน่ ใบบัวบก ถั่วพู แตงกวาเนื่องจากพืชผักเหล่านี้อาจมีการปนเปื้อนของเชื้อก่อโรคจากการใช้ปุ๋ยที่ผลิตจากมูลสัตว์ที่นำมาใช้ในการเพาะปลูก ซึ่งเชื้อเหล่านี้จะอาศัยอยู่ในลำไส้ของสัตว์และถูกขับถ่ายออกมากับมูลของสัตว์ เมื่อนำปุ๋ยจากมูลสัตว์มาใช้ในการเกษตรจึงอาจปนเปื้อนในผลผลิตได้
นอกจากนี้ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ โรคอาหารเป็นพิษ นครสวรรค์ยังตรวจเฝ้าระวังสารเคมีตกค้างและเชื้อก่อโรคของตลาดกลางอื่นๆและห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่ในพื้นที่รับผิดชอบอีก 6 แห่ง จำนวน 9ศูนย์วิทยาศาสตร์ ตัวอย่าง ผลการตรวจไม่พบสารเคมีกำจัดแมลงตกค้างทั้ง 9ศูนย์วิทยาศาสตร์ ตัวอย่าง แต่พบเชื้อก่อโรคอาหารเป็นพิษ ได้แก่ อีโคไลเกินเกณฑ์กำหนด กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ตัวอย่าง
ซาลโมเนลลา 5 ตัวอย่าง ซึ่งได้แจ้งผลการตรวจให้กับผู้เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการสร้างความปลอดภัยด้านอาหารแล้ว
ศูนย์วิทยาศาสตร์ศูนย์วิทยาศาสตร์จุรีภรณ์ บุณยวงศ์วิโรจน์;ทั้งนี้หากผู้บริโภคต้องการรับประทานผักผลไม้แบบสดๆเพื่อความปลอดภัยจากสารเคมีตกค้างและจากเชื้อก่อโรคต่างๆ ขอแนะนำให้ล้างด้วยน้ำสะอาด หรือล้างด้วยน้ำไหลผ่านหลายๆรอบก่อนที่จะนำมาบริโภคศูนย์วิทยาศาสตร์ศูนย์วิทยาศาสตร์กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์;ผอ.ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ โรคอาหารเป็นพิษ นครสวรรค์กล่าวปิดท้าย
ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 3 นครสวรรค์ ร่วมกับตลาดศูนย์การค้ากำแพงเพชรพัฒนาห้องปฏิบัติการตรวจสอบสารพิษตกค้างในผักผลไม้ เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัยของอาหารที่จำหน่ายในตลาดฯ เผยผลการตรวจผักผลไม้ที่ผ่านมายังมีสารตกค้างแต่อยู่ในระดับปลอดภัย พร้อมเดินหน้าตรวจสอบการปนเปื้อนของเชื้ออีโคไลและเชื้อซาลโมเนลลาซึ่งเป็นเชื้อก่อโรคอาหารเป็นพิษ ในผักสด 10 ชนิดที่นิยมบริโภคเป็นผักแกล้มแบบสดๆ นางจุรีภรณ์ บุณยวงศ์วิโรจน์รองอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กล่าวว่าผักและผลไม้ถือเป็นผลผลิตทางเกษตรที่สำคัญของประเทศไทย
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เสริมความรู้ผู้ประกอบการโรงแรมในจังหวัดภูเก็ต กระบี่ และพังงา เฝ้าระวังตัวเรือด เชื้อลีจิโอเนลลา และเชื้อไวรัสโนโร ด้วย 3C
—
กรมวิทยาศาส...
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เสริมความรู้ความเข้าใจ ระบบคุณภาพ OECD GLP สร้างความเข้มแข็งหน่วยตรวจสอบขึ้นทะเบียนแห่งชาติ
—
สำนักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศา...
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ร่วมเครือข่ายเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัส hMPV
—
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ร่วมเครือข่ายเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัส hMPV ทางห้องปฏิบัติการ ...
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เผยโควิด 19 สายพันธุ์ JN.1* ยังเป็นสายพันธุ์ที่พบมากที่สุดในไทย แนะกลุ่มเสี่ยงปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการติดเชื้ออย่างสม่ำเสมอ
—
นายแพทย์ยงย...
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ พัฒนาคุณภาพการตรวจน้ำตาลสะสมในเลือด มาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศ เพิ่มความแม่นยำในการรักษาเบาหวาน
—
นายแพทย์ยงยศ ธรรมวุฒิ อธิบดีกรมวิท...
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เปิดบ้านให้นักเรียน ชมห้องแล็บ เรียนรู้สร้างแรงบันดาลใจ
—
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) เปิดบ้านให้คณะครูและนักเรีย...