ที่มาของ ส.ส. ส.ว. และนายกรัฐมนตรี

           ศูนย์สำรวจความคิดเห็น ̶สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์;นิด้าโพล” สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เปิดเผยผลสำรวจความคิดเห็นของประชาชน เรื่อง ̶สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์;ที่มา ส.ส. ส.ว. และนายกรัฐมนตรี” ทำการสำรวจระหว่างวันที่ 26 – 28 ธันวาคม 2557 จากประชาชนทั่วประเทศ กระจายทั่วทุกภูมิภาค ระดับการศึกษา และอาชีพ รวมทั้งสิ้น จำนวน 1,261 หน่วยตัวอย่าง เกี่ยวกับข้อเสนอของกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการสรรหาและที่ไปที่มาของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) และนายกรัฐมนตรี ในประเด็นต่าง ๆ อาศัยการสุ่มตัวอย่างจากบัญชีรายชื่อฐานข้อมูลตัวอย่างหลัก (Master Sample) ของ ̶สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์;นิด้าโพล” ด้วยความน่าจะเป็นด้วยวิธีแบบเป็นระบบ (Systematic Random Sampling) เก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ โดยกำหนดค่าความเชื่อมั่นที่ ร้อยละ 95.สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และมีค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน (Standard Error: S.E.) ไม่เกิน 1.4
          จากผลการสำรวจ เมื่อถามถึงความคิดเห็นของประชาชนต่อข้อเสนอของกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ ที่กำหนดให้มี ส.ส.จำนวน 45สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ คน แบ่งเป็นระบบเขตเลือกตั้ง 25สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ คน และระบบสัดส่วน 2สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ คน พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 7สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.74 ระบุว่า เห็นด้วย เพราะ การนับคะแนนระบบเขตเลือกตั้งทำได้ง่ายไม่ยุ่งยาก และการมีส.ส. ระบบเขตน้อยลงเป็นการช่วยลดปัญหาการซื้อสิทธิ์ขายเสียงรองลงมา ร้อยละ 18.87 ระบุว่า ไม่เห็นด้วย เพราะ ถือว่ายังมีจำนวน ส.ส. มากเกินไปและต้องการ ส.ส. จำนวนไม่มาก แต่มีคุณภาพ ไม่มีการทุจริตคอร์รัปชัน ในขณะที่บางส่วนบอกว่ามีน้อยเกินไปและอาจจะทำให้ดูแลประชาชนได้ไม่ทั่วถึง ส่วนอีกกลุ่มหนึ่งบอกว่าถ้าเป็นไปได้ ควรมีแค่ ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกตั้งทั้งหมด เพียงอย่างเดียว และ ร้อยละ 1สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.39 ไม่ระบุ/ไม่แน่ใจ
          ด้านความคิดเห็นของประชาชนต่อข้อเสนอของกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ ที่ให้มีการแบ่งโซนพื้นที่เลือกตั้ง ส.ส. แบบสัดส่วน เป็น 8 กลุ่ม โดยใช้ภูมิภาคเป็นตัวแบ่งเขต พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 66.37 ระบุว่า เห็นด้วย เพราะ สามารถสรรหาบุคคลได้อย่างทั่วถึง ช่วยลดความขัดแย้งในภาคส่วนต่าง ๆ ส.ส. ที่เป็นคนในพื้นที่สามารถเข้าใจถึงปัญหาและสะท้อนเสียงของประชาชนในพื้นที่ได้เป็นอย่างดี รองลงมา ร้อยละ 24.27 ระบุว่า ไม่เห็นด้วย เพราะ ในบางพื้นที่ที่มีประชากรน้อย อาจจะไม่ได้สัดส่วนที่เหมาะสม และเกิดความแตกแยก ขาดความสามัคคี ควรแบ่งตามระบบเดิมจะดีกว่า และ ร้อยละ 9.36 ไม่ระบุ/ไม่แน่ใจ
          เมื่อถามถึงความคิดเห็นของประชาชนต่อข้อเสนอของกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญที่กำหนดว่า ผู้สมัคร ส.ส.ไม่จำเป็นต้องสังกัดพรรคการเมือง พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 65.66 ระบุว่า เห็นด้วย เพราะ จะได้ไม่ต้องยึดติดกับพรรคการเมืองหรือเกิดการเล่นพรรคเล่นพวกมากเกินไป เป็นการเปิดโอกาสให้บุคคลอิสระจากหลากหลายสาขาอาชีพ ที่มีความรู้ ความสามารถ เข้ามาเป็นตัวแทนประชาชนเพื่อแก้ไขปัญหาประเทศ ช่วยลดการสร้างอำนาจหรือการแสวงหาประโยชน์ส่วนตนเช่นที่ผ่านมา รองลงมา ร้อยละ 3สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.93 ระบุว่า ไม่เห็นด้วย เพราะ อาจจะทำให้การทำงานการแก้ไขปัญหาประเทศค่อนข้างลำบาก เพราะต้องทำงานกันเป็นทีม หากไม่สังกัดพรรคการเมือง ประชาชนจะไม่ทราบถึงนโยบายต่าง ๆ ในการทำงานที่แน่ชัด ควรมีที่ไปที่มาโดยมีพรรคการเมือง เป็นฐานเพื่อให้ง่ายต่อการตรวจสอบและการทำงาน และ ร้อยละ 3.41 ไม่ระบุ/ไม่แน่ใจ
          สำหรับความคิดเห็นของประชาชนต่อข้อเสนอของกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญที่กำหนดว่า นายกรัฐมนตรีไม่จำเป็นต้องมาจากการเลือกตั้ง แต่ต้องได้รับความเห็นชอบจาก ส.ส. ในสภาฯ พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 63.36 ระบุว่า ไม่เห็นด้วย เพราะ มองว่าไม่เป็นประชาธิปไตย มิได้เกิดจากกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเห็นชอบหรือเลือกนายกรัฐมนตรีโดยตรง เป็นการใช้อำนาจผูกขาดจาก ส.ส. มากเกินไป จนละเลยเสียงของประชาชน รองลงมา ร้อยละ 34.58 ระบุว่า เห็นด้วย เพราะ ถ้ามาจากการเลือกตั้งโดยตรง สุดท้ายก็เกิดการทุจริตการซื้อเสียงเพื่อให้ได้ตำแหน่ง ซึ่งส.ส. ควรสรรหาผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ หรืออาจเป็นอดีตนักการเมืองเก่า ข้าราชการ นักการเมืองอิสระที่มีความเหมาะสมกับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและ ร้อยละ 2.สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์6 ไม่ระบุ/ไม่แน่ใจ
          ท้ายที่สุด เมื่อถามถึงความคิดเห็นของประชาชนต่อข้อเสนอของกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญที่ว่า สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) มีจำนวนไม่เกิน 2สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ คน โดยมาจากการสรรหา 4 กลุ่ม และเลือกตั้งทางอ้อม 1 กลุ่ม พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 54.24 ระบุว่า เห็นด้วย เพราะ ต้องการให้ ส.ว. มาจากหลากหลายกลุ่มสาขาอาชีพ ที่มีความรู้ ความสามารถ มากด้วยคุณภาพ เกิดความคิดใหม่ๆ ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาประเทศชาติ หากมีการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนในสัดส่วนที่มากเกินไปหรือทั้งหมด ก็ยังคงมีปัญหาการทุจริตซื้อสิทธิ์ขายเสียงเช่นเดิม รองลงมา ร้อยละ 35.85 ระบุว่า ไม่เห็นด้วย เพราะ ส.ว. ควรมาจากการมีส่วนร่วมของประชาชนโดยผ่านการเลือกตั้งจากประชาชนทั้งหมด หากเป็นการสรรหา อาจมีการใช้ระบบพวกพ้องหรือเกิดการซื้อขายตำแหน่งกัน และ ร้อยละ 9.91 ไม่ระบุ/ไม่แน่ใจ
          เมื่อพิจารณาลักษณะทั่วไปของตัวอย่าง พบว่า ตัวอย่างร้อยละ 19.83 มีภูมิลำเนาอยู่กรุงเทพฯ และปริมณฑล ร้อยละ 2สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.78 มีภูมิลำเนาอยู่ภาคกลาง ร้อยละ 19.83 มีภูมิลำเนาอยู่ภาคเหนือ ร้อยละ 19.59 มีภูมิลำเนาอยู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และร้อยละ 19.98 มีภูมิลำเนาอยู่ภาคใต้ ตัวอย่างร้อยละ 57.สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์2 เป็นเพศชาย และ ร้อยละ 42.98 เป็นเพศหญิง 
          ตัวอย่างร้อยละ 7.สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ มีอายุ 18 – 25 ปี ร้อยละ 32.61 มีอายุ 25 – 39 ปี ร้อยละ 48.79 มีอายุ 4สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ – 59 ปี และร้อยละ 11.59 มีอายุ 6สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปี ขึ้นไป ตัวอย่างร้อยละ 94.93 นับถือศาสนาพุทธ ตัวอย่างร้อยละ 4.26 นับถือศาสนาอิสลาม และตัวอย่างร้อยละ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.8สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ นับถือศาสนาคริสต์ และอื่น ๆ ตัวอย่างร้อยละ 25.81 สถานภาพโสด ตัวอย่างร้อยละ 72.42 สมรสแล้ว และตัวอย่างร้อยละ 1.77 หม้าย หย่าร้าง แยกกันอยู่ ตัวอย่างร้อยละ 21.28 จบการศึกษาประถมศึกษาหรือต่ำกว่า ตัวอย่างร้อยละ 3สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.26 จบการศึกษามัธยมศึกษาหรือเทียบเท่า ร้อยละ 9.สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์6 จบการศึกษาอนุปริญญาหรือเทียบเท่า ตัวอย่างร้อยละ 32.69 จบการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า และตัวอย่างร้อยละ 6.72 จบการศึกษา สูงกว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ตัวอย่างร้อยละ 16.69 ประกอบอาชีพข้าราชการ/ลูกจ้าง/พนักงานรัฐวิสาหกิจ ตัวอย่างร้อยละ 16.69 ประกอบอาชีพพนักงานเอกชน ตัวอย่างร้อยละ 23.91 ประกอบอาชีพเจ้าของธุรกิจ/อาชีพอิสระ ตัวอย่าง ร้อยละ 11.67 ประกอบอาชีพเกษตรกร/ประมง ตัวอย่างร้อยละ 14.18 ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป/ผู้ใช้แรงงาน ตัวอย่างร้อยละ 12.4สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เป็นพ่อบ้าน/แม่บ้าน/เกษียณอายุ/ว่างงาน และ ตัวอย่างร้อยละ 4.46 เป็นนักเรียน/นักศึกษา ตัวอย่างร้อยละ 12.69 ไม่มีรายได้ ตัวอย่างร้อยละ 18.72 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ไม่เกิน 1สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์,สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ตัวอย่างร้อยละ 31.32 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่อเดือน 1สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์,สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์1 – 2สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์,สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ตัวอย่างร้อยละ 14.83 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 2สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์,สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์1 – 3สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์,สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ บาท ตัวอย่างร้อยละ 6.82 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่อเดือน 3สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์,สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์1 – 4สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์,สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ร้อยละ 1สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์7 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน มากกว่า 4สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์,สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์1 บาท ขึ้นไป และร้อยละ 5.55 ไม่ระบุรายได้
 
 

ข่าวสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์+สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตวันนี้

เวฟ เอกซ์โพเนนเชียล ผนึก NIDA เปิดการอบรมหลักสูตร "ผู้บริหารระดับสูงด้านเศรษฐกิจเพื่อสิ่งแวดล้อม"

นายเอกนัฏ พร้อมพันธุ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม เป็นประธานเปิดการอบรมหลักสูตร"ผู้บริหารระดับสูงด้านเศรษฐกิจเพื่อสิ่งแวดล้อม" หรือ NIDA Bio Circular Green Economy Executive Program (NIDA BCG) จัดโดย เวฟ บีซีจี (Wave BCG) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของ บมจ.เวฟ เอกซ์โพเนนเชียล ร่วมกับสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) โดยมีนายถิรพงศ์ คำเรืองฤทธิ์ (กลาง) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บมจ.เวฟ เอกซ์โพเนนเชียล หรือ (WAVE) และรศ. ดร.ดนุวัศ สาคริก (ซ้าย) รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะรัฐประศาสนศาสตร์

นางกลอยตา ณ ถลาง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ... บางจากฯ แบ่งปันแนวคิดการจัดการงานสื่อสาร แนวคิดการบริหารธุรกิจอย่างมีสมดุล เพื่อความยั่งยืน — นางกลอยตา ณ ถลาง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ งานบริหารความยั่งยื...

โบลท์ ร่วมฉลองวันปลอดรถโลก พร้อมการเติบโต... โบลท์ (Bolt) เผยสถิติ คนไทยมีแนวโน้มหันมาเลือกการเดินทางแบบปลอดมลพิษมากขึ้น — โบลท์ ร่วมฉลองวันปลอดรถโลก พร้อมการเติบโตอย่างก้าวกระโดดของหมวดรถยนต์ไฟฟ้า (...

บริษัท ผลธัญญะ จำกัด (มหาชน) หรือ PHOL ผู... PHOL เปิดบ้านต้อนรับนักศึกษาปริญญาตรีควบโท วิศวกรรมการเงิน KMITL-NIDA เยี่ยมชมบริษัท — บริษัท ผลธัญญะ จำกัด (มหาชน) หรือ PHOL ผู้ประกอบธุรกิจจัดจำหน่ายสิน...