นายชลิต ดำรงศักดิ์ รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นประธานพิธีเปิดการฝึกอบรม หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแก่ประเทศสมาชิกศูนย์พัฒนาชนบทแบบผสมผสานสำหรับภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก หรือ CIRDAP จำนวน หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์5 ประเทศ ได้แก่ ไทย ลาว พม่า เวียดนาม ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย อินเดีย บังคลาเทศ ศรีลังกา ปากีสถาน เนปาล อิหร่าน อัฟกานิสถาน และฟิจิ พร้อมด้วย เจ้าหน้าที่จาก กรมส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมสหกรณ์ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กองนโยบายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืน สำนักแผนงานและโครงการพิเศษ และสำนักการเกษตรต่างประเทศ ระหว่างวันที่ หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์5-หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์8 กรกฎาคม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์557
โดยมีวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม คือ หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์. เพื่อเป็นการเพิ่มพูนแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการดำเนินงานโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ให้แก่ประเทศสมาชิก เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและยกระดับฐานะให้คนในชนบท และ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ในการพัฒนาชนบทและขจัดความยากจน ตลอดจนร่วมกันหาแนวทางที่เหมาะสมสำหรับประเทศสมาชิกในการพัฒนาชนบทและขจัดความยากจนต่อไป ซึ่งรัฐบาลของประเทศสมาชิก ได้พยายามหาแนวทางแก้ไขปัญหาด้วยวิธีที่แตกต่างกัน และประสบความสำเร็จที่แตกต่างกัน ซึ่งสำหรับประเทศไทยได้ดำเนินโครงการ หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ซึ่งเป็นโครงการที่ต้องการสร้างมูลค่าเพิ่มของผลิตภัณฑ์ที่มาจากท้องถิ่นให้ชุมชนสามารถผลิตสินค้าที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศจากวัตถุดิบและภูมิปัญญาในท้องถิ่น เพื่อสร้างงานและสร้างรายได้ขึ้นในท้องถิ่น ดังนั้นจึงเป็นโอกาสอันดีที่จะเผยแพร่แนวทางนี้ให้แก่ประเทศสมาชิกของ CIRDAP ซึ่งมีประชากรที่ยกจนที่สุดในโลก นอกจากนี้เพื่อขจัดความยากจน และเป็นแนวทางหนึ่งที่จะสร้างความเจริญแก่ชุมชนให้สามารถยกระดับฐานะความเป็นอยู่ของคนในชุมชนให้ดีขึ้น สามารถพึ่งตนเองได้ รวมทั้งการผลิตหรือจัดการทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นให้กลายเป็นสินค้าที่มีคุณภาพมีจุดเด่นเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง โดยมีความสอดคล้องกับวัฒนธรรมในแต่ละท้องถิ่นด้วย
นายชลิต กล่าวอีกว่า การจัดฝึกอบรมในครั้งนี้ จะเป็นการนำเสนอแนวทางการดำเนินโครงการ หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ให้ประเทศสมาชิกได้รับไปประยุกต์ใช้ อีกทั้งยังเป็นเวทีให้ผู้แทนจากประเทศสมาชิกมีส่วนร่วมในการเสนอแนวทางของแต่ละประเทศ ร่วมกันเสนอความคิด และวิเคราะห์ปัญหาต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาชนบทและขจัดความยากจนต่อไป
"ข้าว" เป็นสินค้าเกษตรส่งออกหลักของประเทศไทย ซึ่งครอบคลุมพื้นที่เพาะปลูกมากที่สุด โดย สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรระบุว่าในปี 2565 มีพื้นที่นาข้าวประมาณ 70 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 46 ของพื้นที่เกษตรทั้งหมดของประเทศ โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพื้นที่นาข้าวมากที่สุด รองลงมาคือ ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ ตามลำดับ ซึ่งภายหลังการเก็บเกี่ยวผลผลิตข้าว จะก่อให้เกิดวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เช่น ตอซัง และฟางข้าว โดยพบว่า พื้นที่นาข้าว 1 ไร่ จะมีปริมาณตอซังและฟางข้าว โดยเฉลี่ยปีละ 650 กิโลกรัม ดังนั้นเพื่อ
อย. ร่วมกับ มกอช. ชี้แจง แนวทางการดำเนินงานของคณะกรรมการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการด้านการจัดการด้านอาหารของประเทศไทย
—
อย. ร่วมกับ มกอช. ชี้แจง แนวทางการดำเน...
กล้วยน้ำว้ามะลิอ่อง จ.พิษณุโลก สินค้าเกษตรที่มีศักยภาพ ทดแทนการผลิตข้าวนาปีในพื้นที่ไม่เหมาะสม สร้างรายได้เกษตรกร
—
นางธัญญ์พิชชา เถระรัชชานนท์ ผู้อำนวยกา...
สศท. 7 เผยผลศึกษาการบริหารจัดการ "ฟางข้าว" ในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคกลาง เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม
—
นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 7 ช...
ไทย - จีน จับมือสร้างความสัมพันธ์ พร้อมเปิดตลาดสินค้าด้านการเกษตร
—
ร้อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลังหารือร่วมกั...
โครงการส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตรในระดับชุมชนสร้างอาชีพมั่นคง ต่อยอดมูลค่าผลิตผลทางการเกษตร
—
นางธัญธิตา บุญญมณีกุล รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร...
ไทยส่งเสริมบทบาทสตรีในภาคเกษตร ผลักดันความมั่นคงด้านอาหารและโภชนาการ ในเวที CFS ครั้งที่ 51
—
นางสาวกาญจนา ขวัญเมือง รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ...
สศก. ติดตามโครงการอ่างเก็บน้ำนฤบดินทรจินดา
—
สศก. ติดตามโครงการอ่างเก็บน้ำนฤบดินทรจินดา แหล่งน้ำขนาดใหญ่ เพื่อเกษตรกรรม และระบบนิเวศครบครัน นายฉันทานนท์...
สศก. ลงพื้นที่โคราช-เลย สำรวจแหล่งผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ระบุ พฤศจิกายน ผลผลิตออกสู่ตลาดมาก ขณะที่ราคายังดี เฉลี่ย กก.ละ 10.28 บาท
—
นายฉันทานนท์ วรรณเขจร...
สศก. ขึ้นรับรางวัล 'Excellent Open Data Hub' หน่วยงานเปิดเผยชุดข้อมูลเปิดภาครัฐ โครงการ DIGI DATA AWARDS
—
นายฉันทานนท์ วรรณเขจร เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจ...