กรุงเทพฯ--25 ม.ค.--มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ดร.เกียรติศักดิ์ แสงประดิษฐ์ นักวิจัย จาก มทร.ธัญบุรี ร่วมกับ Prof. Proka Dasgupta แพทย์ จาก guy’s Hospital ลอนดอน ประเทศอังกฤษ คิดค้นเครื่องมือช่วยการทำงานของหุ่นยนต์ทางการแพทย์ ในการตรวจหาเนื้อเยื้อมะเร็งที่ผิดปกติในขณะการผ่าตัดแบบเจาะช่องขนาดเล็ก(Minimally invasive surgery (MIS))ได้เป็นผลสำเร็จ ดร.เกียรติศักดิ์ เปิดเผยว่า เครื่องมือชนิดนี้จะช่วยให้แพทย์ได้เห็นและเข้าใจตำแหน่งของเนื้อเยื้อที่ผิดปรกติ โดยใช้เซนเซอร์วัดแรง โดยหลักความคิดง่ายๆคือจะใช้ ตัวเซนเซอร์วัดแรงในโรงงานอุตสากรรมทั่วไป เข้า
วิศวะมหิดล เปิดสัมมนา "หุ่นยนต์ทางการแพทย์" สานพลังจัดตั้ง "สมาคมวิชาการหุ่นยนต์และ AI ทางการแพทย์ประเทศไทย"
—
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดย รศ.ด...
วิศวะมหิดล จับมือ ม.จอนส์ ฮอปกินส์ ร่วมขับเคลื่อนพัฒนางานวิจัยเครื่องมือแพทย์และศูนย์หุ่นยนต์การแพทย์
—
คณะวิศกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol Enginee...
ทีเซลส์ เผยโฉมทีมชนะเลิศคว้ารางวัลสุดยอดหุ่นยนต์ทางการแพทย์ i-MEDBOT Innovation Contest 2021
—
ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) หรือ ทีเ...
ขอเชิญชมการถ่ายทอดสดผ่านช่องทองออนไลน์ รอบชิงชนะเลิศ การประกวดหุ่นยนต์ทางการแพทย์ i-MEDBOT Innovation Contest 2021
—
ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (...
มจธ. ตั้ง "HAC - FIBO" ศูนย์รวมงานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีด้านหุ่นยนต์ทางการแพทย์ ต่อยอดสู่การใช้งานจริงในโรงพยาบาล
—
เป็นที่ยอมรับกันว่าเทคโนโลยี AI ได้เข้...
ทีเซลส์ ประกาศผลทีมเข้ารอบสุดท้าย โครงการประกวดหุ่นยนต์ทางการแพทย์ i-MEDBOT Innovation Contest 2021
—
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดย...
นักวิจัย มทร.ธัญบุรี เจ๋ง คว้ารางวัลเหรียญทองและรางวัลพิเศษ INOVA BEST CIVIL ENGINEERING INVENTION ที่โครเอเชีย
—
เครื่องใส่ปุ๋ยแบบแม่นยำในไร่อ้อยโดยเทคนิ...