โรคพาร์กินสันคืออะไร? –
มีอาการและอาการแสดงอย่างไร?อาการของโรคพาร์กินสันนั้นแบ่งออกเป็นอาการความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว (Motor
Aug 2023
ลักษณะอาการของโรคพาร์กินสัน -
Chersery Home – ผู้ป่วยจะมีอาการสั่นเกร็งปวดของกล้ามเนื้อสูญเสียการทรงตัวร่วมด้วยอาการของการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติที
Sep 2020
Britannia Pharmaceuticals Ltd เผยผลการศึกษา TOLEDO เฟส 3 ชี้การใช้ยา Apomorphine ชนิดฉีดเข้าใต้ผิวหนังช่วยลดปัญหาอาการตอบสนองต่อยาไม่สม่ำเสมอในผู้ป่วยโรคพาร์กินสัน (PD) ซึ่งมีอาการที่ไม่สามารถควบคุมได้ด้วยการรับประทานยา – การรักษาด้วยยา APO-go(R) / MOVAPO(R) (apomorphine) โดยฉีดเข้าใต้ผิวหนังเป็นเวลา 12 สัปดาห์ ทำให้ลดเวลา OFF time (ระยะเวลาที่การรักษา PD ไม่ได้ผล) ลงได้อย่างมีนัยสำคัญ จากการให้ยาจริง (baseline)
Britannia Pharmaceuticals ประกาศผลวิจัยสำคัญ ยืนยัน “อะโปมอร์ฟีน” ช่วยรักษาผู้ป่วยโรคพาร์กินสันที่การรักษาตามมาตรฐานไม่ได้ผล – การใช้ยาฉีดใต้ผิวหนัง APO-go(R)/MOVAPO(R) ประสบความสำเร็จทางคลินิกมานานเกือบ 30 ปีแล้วในยุโรป ขณะที่การวิจัยแบบไม่มีกลุ่มควบคุมหลายโครงการก็ได้แสดงให้เห็นถึงสรรพคุณในการลดช่วงเวลาที่ยาหมดฤทธิ์ (off time) บรรเทาอาการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อลำบาก และลดความจำเป็นในการทานยาเลโวโดปา ทว่าจนถึงทุกวันนี้
“ปุ้ย พิมลวรรณ” เผยข้อมูล “ โรคพาร์กินสัน “ พบมากในวัยเพลิน ลูกหลานควรดูแลใกล้ชิด – โดย " ปุ้ย พิมลวรรณ หุ่นทองคำ" เผยว่า " คุณหมอให้ข้อมูลว่า โรคพาร์กินสันเป็นโรคที่ใกล้เคียงโรคโรคอัลไซเมอร์ และพบมากในรุ่นใหญ่วัยเพลิน จริงๆพาร์กินสันเป็นโรคเกี่ยวกับเรื่องของมีความเสื่อมของระบบประสาทสมองส่วนกลางโดยไม่ทราบสาเหตุ ซึ่งจะทำให้มีการหลั่งสารโดปามีนลดลง อาการคนไข้ก็จะมีความผิดปกติเกี่ยวกับเรื่องของการเคลื่อนไหว มีการเดินที่ผิดปกติไป
‘Parkinson’s disease and Movement Disorder Clinic’ คลินิกรักษาและดูแล โรคพาร์กินสันและการเคลื่อนไหวผิดปกติ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ – “หนึ่งในการเคลื่อนไหวผิดปกติที่พบบ่อยคือโรคพาร์กินสัน (Parkinson’s disease) ซึ่งเป็นโรคที่มีสาเหตุจากการสูญเสียเซลล์สมองในส่วนที่สร้างสาร ‘โดปามีน’ (Dopamine) สารสื่อประสาทที่มีหน้าที่ควบคุมอารมณ์ เรียบเรียงความคิด และควบคุมการเคลื่อนไหว ดังนั้น
ภาพข่าว: ศูนย์รักษาโรคพาร์กินสัน จุฬา ชี้ร้อยละ 74.3 ของผู้ป่วยโรคพาร์กินสัน ประสบปัญหาอาการผิดปกติตอนกลางคืน – กรุงเทพฯ--21 มี.ค.-- ศูนย์พาร์กินสัน โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ร่วมกับ หน่วยประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และหน่วยประสาทวิทยา กลุ่มงานอายุรกรรม โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จัดงานแถลงข่าวนำเสนอผลการศึกษา NIGHT-PD study (การศึกษาปัญหาอาการพาร์กินสันตอนกลางคืน)