ปัญหาสุขภาพจิต ในเด็กไทยเป็นเรื่องที่น่ากังวลมากขึ้นในสังคมปัจจุบัน โดยเฉพาะในยุคที่การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเทคโนโลยีเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว เด็กๆ ต้องเผชิญกับความกดดันจากหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นความเครียดในโรงเรียน การกลั่นแกล้ง และปัญหาครอบครัว ซึ่งสามารถส่งผลกระทบต่อจิตใจและพฤติกรรมของเด็กได้โดยตรง
จากข้อมูล Mental Health Check-in ของกรมสุขภาพจิต พบสถานการณ์สุขภาพจิตคนไทยทุกช่วงอายุ ระหว่างปี 2563-2567 มีความเครียดสูง 8.04% มีภาวะเสี่ยงซึมเศร้า 9.47% และเสี่ยงฆ่าตัวตาย 5.39% โดยเฉพาะเยาวชนไทยอายุต่ำกว่า 20 ปี มีความเครียดสูง 24.83% มีภาวะเสี่ยงซึมเศร้า 29.51% และเสี่ยงฆ่าตัวตายสูงถึง 20.35% ซึ่งเป็นตัวเลขที่สูงกว่าวัยทั่วไป สาเหตุส่วนหนึ่งเกิดจากความเครียด ความเหนื่อยล้า การโดนล่วงละเมิดทางเพศบนออนไลน์ ขณะที่จิตแพทย์เด็กมีจำนวนไม่เพียงพอต่อจำนวนผู้ป่วย
ดังนั้นหากคุณพ่อ คุณแม่ ผู้ปกครองไม่ทันสังเกตให้ดีว่าลูกเรากำลังประสบกับปัญหาทางสุขภาพจิตที่มากกว่าแค่อาการดื้อหรืออารมณ์ขึ้นลงตามปกติ ก็อาจจะนำไปสู่ผลกระทบที่ร้ายแรงได้
4 สัญญาณ สังเกตอาการปัญหาสุขภาพจิตในเด็ก
มีพฤติกรรมการกินและการนอนที่มากขึ้น/น้อยลงอย่างเห็นได้ชัด ผิดปกติจากเดิม ในเด็กเล็กอาจงอแง หงุดหงิดง่ายหลังตื่นนอนเนื่องจากหลับไม่สนิท รวมถึงการฉี่รดที่นอนซึ่งปกติไม่เกิดขึ้นมานาน
การแสดงอารมณ์ที่แปรปรวนหรือรุนแรง ผิดไปจากเดิม เช่น หงุดหงิดง่าย ก้าวร้าว ฉุนเฉียว ซึมเศร้า ร้องไห้บ่อยและเป็นเวลานาน หรือเฉยชา ไร้อารมณ์
ความผิดปกติทางพฤติกรรมนั้น สามารถแสดงออกได้หลากหลายรูปแบบ เช่น มีอาการป่วยบ่อยครั้งทั้งที่เคยเข็งแรงดี เช่น
เมื่อลูกเริ่มงอแงไม่อยากไปโรงเรียนโดยแสดงอาการหวาดกลัวหรือวิตกกังวล รวมถึงอาการหลีกหนีสังคม หมกตัวอยู่แต่ในห้อง/บ้าน ไม่พูดคุย เหม่อลอย สิ่งเหล่านี้เป็นสัญญาณสำคัญที่พ่อแม่ควรรีบให้ความช่วยเหลือ เพราะหากปล่อยไว้อาจนำไปสู่โรคซึมเศร้าที่รุนแรงได้
4 แนวทางป้องกัน ปัญหาสุขภาพจิตในเด็ก
ทั้งนี้ มูลนิธิเด็กโสสะฯ ให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพจิตของทั้งแม่โสสะ คุณน้า และเด็กทุกคน โดยแม่และน้าจะได้รับการอบรมด้านการเลี้ยงดูเด็กอย่างถูกต้อง รวมถึงอบรมความรู้ด้านสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่น เพื่อทำความเข้าใจลูกในช่วงวัยต่างๆ และนำไปปรับใช้เลี้ยงดู สังเกต แก้ไขปัญหาให้กับลูกๆ อย่างถูกวิธี
ปัญหาสุขภาพจิต ในเด็กไทยเป็นเรื่องที่น่ากังวลมากขึ้นในสังคมปัจจุบัน โดยเฉพาะในยุคที่การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเทคโนโลยีเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว เด็กๆ ต้องเผชิญกับความกดดันจากหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นความเครียดในโรงเรียน การกลั่นแกล้ง และปัญหาครอบครัว ซึ่งสามารถส่งผลกระทบต่อจิตใจและพฤติกรรมของเด็กได้โดยตรง จากข้อมูล Mental Health Check-in ของกรมสุขภาพจิต พบสถานการณ์สุขภาพจิตคนไทยทุกช่วงอายุ ระหว่างปี 2563-2567 มีความเครียดสูง 8.04% มีภาวะเสี่ยงซึมเศร้า 9.47% และเสี่ยงฆ่าตัวตาย 5.39% โดยเฉพาะเยาวชน
ยูนิเซฟและกรมสุขภาพจิตชี้โควิด-19 ส่งผลให้สุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นไทยย่ำแย่อย่างต่อเนื่อง
—
เนื่องในวันสุขภาพจิตโลก ซึ่งตรงกับวันที่ 10 ตุลาคมของทุกปี องค...
TikTok จับมือกรมสุขภาพจิต สร้างคอนเทนต์เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับปัญหาสุขภาพจิตแก่คนไทย พร้อมเปิดตัวแคมเปญ #MoveforMentalHealth ต้อนรับวันสุขภาพจิตโลก
—
- องค์การอน...
กรมสุขภาพจิต เน้นย้ำ การพอเพียงอย่างมีสติ ทำจิตอาสา ช่วยสร้าง จิตดี๊ดี...มีสุข...สนุกกับงาน เนื่องในวันสุขภาพจิตโลก 2560
—
วันนี้ (10 ต.ค. 60) นพ.ม.ล.สมชา...
ภาพข่าว: วันสุขภาพจิตโลก 2559
—
นาวาอากาศตรีนายแพทย์ บุญเรือง ไตรเรืองวรวัฒน์ อธิบดีกรมสุขภาพจิต พร้อมด้วย นพ.หม่อมหลวงสมชาย จักรพันธุ์...
กรมสุขภาพจิต เปิดบ้านฯ รับวันสุขภาพจิตโลก ย้ำมือที่อยู่ใกล้ กำลังใจที่ใกล้ตัว ผ่านภาวะวิกฤต
—
สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา นาวาอากาศตรีนายแพทย์ บุญเร...
โรคซึมเศร้า ภัยเงียบคุกคามสังคม
—
วันที่ 10 ตุลาคมของทุกปี ถูกกำหนดให้เป็น "วันสุขภาพจิตโลก" (World Mental Health Day) เพื่อสร้างความตระหนักรู้...
อินเตอร์เนชั่นแนล เอสโอเอส ชวนเปลี่ยนความเครียดให้เป็นความเข้มแข็ง ด้วยการสนับสนุนสุขภาพจิตในที่ทำงาน เนื่องในวันสุขภาพจิตโลก
—
โลกยังคงเผชิญกับความท้าทาย...
กรุงเทพประกันชีวิต ชวนเติมพลังใจ ใส่ใจสุขภาพจิต เนื่องในวันสุขภาพจิตโลก World Mental Health Day
—
เมื่อปี พ.ศ 2535 สหพันธ์สุขภาพจิตโลก (The World Federati...
LINE ส่งเสริมแนวคิด "เซลฟ์แคร์" ดึงผู้เชี่ยวชาญชวนคนไทยดูแลสุขภาพกายใจ
—
LINE ส่งเสริมแนวคิด "เซลฟ์แคร์" ดึงผู้เชี่ยวชาญชวนคนไทยดูแลสุขภาพกายใจ ผ่านกิจกรร...