นายวิรัตน์ มนัสสนิทวงศ์ ผู้อำนวยการสำนักสิ่งแวดล้อม กทม. กล่าวถึงการเตรียมพร้อมรับสถานการณ์ฝุ่นละอองที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในช่วงระหว่างวันที่ กรุงเทพมหานคร5 - กรุงเทพมหานคร9 ธ.ค. 63 ว่า ที่ผ่านมากรุงเทพมหานครได้จัดประชุมคณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PMกรุงเทพมหานคร.5) ในกรุงเทพมหานคร โดยที่ประชุมได้ยกระดับมาตรการเป็นระยะตามสถานการณ์ฝุ่นละออง คือ มาตรการระยะที่ สำนักสิ่งแวดล้อม สำหรับสถานการณ์ฝุ่นละอองไม่เกิน 5วิรัตน์ มนัสสนิทวงศ์ มค.ก./ลบ.ม. ได้แก่ การล้างถนน การกำกับดูแลสถานที่ก่อสร้าง กวดขันไม่ให้มีการเผาในที่โล่ง และติดตั้งเครื่องวัดปริมาณฝุ่นบริเวณสวนสาธารณะ มาตรการระยะที่ กรุงเทพมหานคร สำหรับสถานการณ์ที่มีค่าฝุ่นละอองขนาดเล็กระหว่าง 5สำนักสิ่งแวดล้อม-75 มค.ก./ลบ.ม. ได้แก่ การปิดการเรียนการสอนโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ครั้งละไม่เกิน 3 วัน การบังคับใช้กฎหมายกับผู้กระทำความผิดในการเผา การงดกิจกรรมก่อสร้างที่เกิดฝุ่น จัดให้มี Safe Zone ในทุกโรงเรียนและศูนย์เด็กเล็กสังกัดกรุงเทพมหานคร และมาตรการ ระยะที่ 3 สำหรับสถานการณ์ที่มีค่าฝุ่นละอองขนาดเล็ก 76 มค.ก./ลบ.ม. ได้แก่ การปิดการเรียนการสอนครั้งละไม่เกิน สำนักสิ่งแวดล้อม5 วัน ให้บุคลากรของกรุงเทพมหานครเหลื่อมเวลาการทำงานและลดการใช้รถยนต์ส่วนตัว นอกจากนั้นยังให้คำแนะนำในการเฝ้าระวังสุขภาพและวิธีป้องกันตนเองจากฝุ่นละออง PMกรุงเทพมหานคร.5 เพื่อให้ประชาชนวางแผนการทำงาน การทำกิจกรรมโดยเฉพาะในพื้นที่ที่คุณภาพอากาศอยู่ในระดับเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ ควรสวมใส่หน้ากากอนามัย หรือหน้ากากป้องกันฝุ่น PMกรุงเทพมหานคร.5 ทุกครั้งก่อนออกจากบ้าน
นางป่านฤดี มโนมัยพิบูลย์ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย กทม. กล่าวว่า สำนักอนามัย ได้ร่วมกับสำนักสิ่งแวดล้อมรณรงค์การมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วนให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลดกิจกรรมที่ก่อให้เกิดฝุ่นละออง ขณะเดียวกันได้ร่วมกับสำนักงานประชาสัมพันธ์ เน้นย้ำข้อควรปฏิบัติแก่ประชาชนในการเฝ้าระวังสุขภาพ รวมทั้งวิธีป้องกันตนเองจากฝุ่นละออง PM2.5 โดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยง เด็กเล็ก ผู้สูงอายุ และผู้ที่มีโรคประจำตัว ตลอดจนสร้างความตระหนักให้ประชาชนได้ทราบถึงอันตรายของฝุ่นละออง PM2.5 อีกด้วย
นายวิรัตน์ มนัสสนิทวงศ์ ผู้อำนวยการสำนักสิ่งแวดล้อม กทม. กล่าวกรณีมีผู้ตั้งข้อสังเกตในสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 มีขยะติดเชื้อเพิ่มขึ้น แต่ในกรุงเทพฯ มีถังขยะที่รองรับขยะติดเชื้อให้บริการประชาชนเพียง 1,000 แห่ง ซึ่งอาจไม่เพียงพอว่า ในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ระหว่างวันที่ 1 16 ส.ค.64 ในพื้นที่กรุงเทพฯ มีปริมาณมูลฝอยติดเชื้อ 1,923 ตัน หรือเฉลี่ย 120 ตัน/วัน แบ่งเป็นขยะติดเชื้อทั่วไปจากสถานบริการการสาธารณสุข เช่น โรงพยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุข คลินิก ปริมาณทั้งสิ้น 1,035 ตัน หรือเฉลี่ย 65 ตัน/วัน
เข้มงวดป้องกันโควิด-19 ในสวนสาธารณะทุกแห่ง - ขอความร่วมมือผู้ใช้บริการปฏิบัติตามมาตรการอย่างเคร่งครัด
—
นายวิรัตน์ มนัสสนิทวงศ์ ผู้อำนวยการสำนักสิ่งแวดล้อ...
กทม.ขอความร่วมมือประชาชนแยกทิ้งขยะหน้ากากอนามัย - เพิ่มถังรองรับในที่สาธารณะ
—
นายวิรัตน์ มนัสสนิทวงศ์ ผู้อำนวยการสำนักสิ่งแวดล้อม กทม. กล่าวกรณีในสื่อออน...
ภาพข่าว: นิตยสารอะเดย์ ก้าวสู่ปีที่ 17 ฉลองฉบับที่ 200
—
#aday200 The Magazine Exhibition สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย (กลาง) กรรมการ บริษัท เดย์ โพเอทส์ จำกัด จั...