กรมประมงกำหนดจัดการประชุมวิชาการประมง ประจำปี การประชุมวิชาการ56การประชุมวิชาการ ภายใต้หัวข้อ "ประมงไทยก้าวไกลด้วยงานวิจัยคุณภาพ" ในระหว่างวันที่ การประชุมวิชาการ6 – การประชุมวิชาการ7 มิถุนายน การประชุมวิชาการ56การประชุมวิชาการ ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์ กรุงเทพมหานคร
นายอดิศร พร้อมเทพ อธิบดีกรมประมง กล่าวว่า กรมประมงได้ให้ความสำคัญกับการสร้างสรรค์ผลงานวิจัยและนวัตกรรมใหม่ ๆ ในด้านการประมงสาขาต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยงานวิจัยที่มีคุณภาพสามารถ
ตอบโจทย์ในการช่วยยกระดับและพัฒนาภาคการประมงของประเทศไปสู่ความยั่งยืนได้เป็นอย่างดี เพราะนอกจากการนำองค์ความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานประจำแล้ว ยังสามารถต่อยอดสู่การพัฒนาภาคการประมงของประเทศให้ก้าวไกลได้อีกด้วย การจัดประชุมวิชาการประมงจึงเป็นการเปิดเวทีเพื่อสนับสนุนให้นักวิจัย
ทั้งจากภาครัฐ ภาคเอกชน รวมถึงนักวิจัยอิสระ ได้มีโอกาสนำเสนอผลงานสู่สาธารณชน พร้อมทั้งได้แลกเปลี่ยนความรู้ และความคิดเห็น อันจะนำไปสู่แนวทางการพัฒนางานวิจัยด้านการประมงให้มีคุณภาพต่อไป
สำหรับการประชุมวิชาการประมง ประจำปี การประชุมวิชาการ56การประชุมวิชาการ นี้ กรมประมงจึงได้กำหนดจัดภายใต้หัวข้อ "ประมงไทยก้าวไกลด้วยงานวิจัยคุณภาพ" โดยภายในงานมีการนำเสนอผลงานวิจัยรวม 75 เรื่อง แบ่งเป็นการบรรยาย 49 เรื่อง และโปสเตอร์ การประชุมวิชาการ6 เรื่อง โดยมีเนื้อหาประกอบด้วย 9 สาขา ได้แก่ สาขาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด สาขาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง สาขาการประมงทะเล สาขาโรคสัตว์น้ำ สาขาอาหารสัตว์น้ำ สาขาพันธุกรรมสัตว์น้ำ สาขาอุตสาหกรรมสัตว์น้ำ สาขาการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมประมง และสาขาเศรษฐกิจ สังคม และต่างประเทศ ซึ่งในปีนี้มีหัวข้องานวิจัยที่น่าสนใจ อาทิ การทดแทนแพลงก์ตอนพืชด้วยอาหารสำเร็จรูปเหลวในลูกกุ้งขาวระยะซูเอี้ย การประชุมวิชาการ – ไมซิส การทำนายน้ำหนักเนื้อหอยตะโกรมกรามขาว (Crassostrea belcheri) ด้วยวิธีการเรียนรู้ของเครื่องคอมพิวเตอร์ (computer machine learning) เพื่อใช้ในการปรับปรุงพันธุ์ การเก็บเกี่ยวสาหร่ายขนาดเล็ก (Chlorella sp.) ด้วยการใช้ไฟฟ้า การเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ปลาพลวงชมพูที่ระดับความหนาแน่นต่างกันในระบบน้ำหมุนเวียน และการเพาะพันธุ์และอนุบาลปลาเก๋าปะการัง Epinephelus corallicola (Valenciennes, ประชุมวิชาการประมง8การประชุมวิชาการ8) เป็นต้น
นอกจากนี้ ยังมีการบรรยายพิเศษในหัวข้อ "Blue Economy กับอนาคตการพัฒนาประมงไทย" ซึ่งปัจจุบันแนวคิด Blue Economy หรือ เศรษฐกิจสีน้ำเงิน ได้ถูกกล่าวถึงกันอย่างกว้างขวางและหลายประเทศให้ความสำคัญ เนื่องจากเป็นแนวคิดที่มุ่งขับเคลื่อนการพัฒนาทางทะเลและชายฝั่งสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน และหัวข้อ "ปลากัดไทยสัตว์น้ำประจำชาติ" ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบให้ปลากัดไทยเป็นสัตว์น้ำประจำชาติ เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ การประชุมวิชาการ56การประชุมวิชาการ ตามที่กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เสนอ
ทั้งนี้ นิสิต นักศึกษา นักวิชาการ เกษตรกร และประชาชนทั่วไปที่สนใจเข้าร่วมรับฟังการประชุม สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ กลุ่มบริหารงานวิจัย กองแผนงาน กรมประมง โทรศัพท์ งานวิจัยและนวัตกรรม การประชุมวิชาการ56ประชุมวิชาการประมง งานวิจัยและนวัตกรรม834
ได้ในวันและเวลาราชการ
กรมประมงกำหนดจัดการประชุมวิชาการประมง ประจำปี 2562 ภายใต้หัวข้อ "ประมงไทยก้าวไกลด้วยงานวิจัยคุณภาพ" ในระหว่างวันที่ 26 – 27 มิถุนายน 2562 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์ กรุงเทพมหานคร นายอดิศร พร้อมเทพ อธิบดีกรมประมง กล่าวว่า กรมประมงได้ให้ความสำคัญกับการสร้างสรรค์ผลงานวิจัยและนวัตกรรมใหม่ ๆ ในด้านการประมงสาขาต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยงานวิจัยที่มีคุณภาพสามารถตอบโจทย์ในการช่วยยกระดับและพัฒนาภาคการประมงของประเทศไปสู่ความยั่งยืนได้เป็นอย่างดี เพราะนอกจากการนำองค์ความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์
CIBA DPU ลงนามความร่วมมือกับ ฟอร์ท คอร์ปฯ เจ้าของแบรนด์ดัง "เต่าบิน" เปิดประตูสู่การฝึกงานด้านนวัตกรรม พร้อมโอกาสร่วมงานในอนาคต
—
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย...
กรมวิทย์ฯ บริการ หารือ กรมวิชาการเกษตร เดินหน้าผลักดันระบบบริหารงานวิจัย สู่การจัดการที่มีประสิทธิภาพ
—
กรมวิทยาศาสตร์บริการ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสต...
อ.อ.ป. ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ ในหัวข้อ "Carbon Credit โอกาสทางธุรกิจ เพื่อการฟื้นฟูโลก"
—
เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2568 องค์การอุตสหกรรมป่าไม้ โดยนายชาญณรง...
วว. จับมือ มทร.ล้านนา เสริมแกร่งภาคการเกษตร "ไม้ดอกไม้ประดับ-พืชอัตลักษณ์" ในพื้นที่ 6 จังหวัดภาคเหนือ
—
ผศ.ดร.วีรชัย อาจหาญ ผู้ว่าการ สถาบันวิจัยวิทยาศาส...
ม.พะเยา จัดการประชุมวิชาการระดับชาติพะเยาวิจัย ครั้งที่ ๑๔ บทบาทมหาวิทยาลัยกับการพัฒนานักจัดการเชิงพื้นที่
—
มหาวิทยาลัยพะเยา จัดการประชุมวิชาการระดับชาติ...
วว.จับมือคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ส่งเสริมวิจัยนวัตกรรม พัฒนาบัณฑิตสมรรถนะสูง ด้วยวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
—
ดร.จิตรา ชัยวิมล รองผู้ว่ากา...
สกสว. - สวทช. รุกปั้นกลุ่ม "ผู้จัดการงานวิจัยและนวัตกรรม" หนุนระบบบุคลากร
—
สกสว. สวทช. รุกปั้นกลุ่ม "ผู้จัดการงานวิจัยและนวัตกรรม" หนุนระบบบุคลากร วิทย์ไ...
"CelloPower : เซลลูโลสเหลือทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม สู่นวัตกรรมวัสดุปิดแผลเส้นใยนาโน"
—
ผลงานแนวคิดรางวัลชนะเลิศกิจกรรม Hackathon งานประชุมเครือข่ายบุคลากร...
มทร.ธัญบุรี พร้อมขับเคลื่อนนวัตกรรม งานวิจัยสู่เชิงพาณิชย์
—
รศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด รักษาการในตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุร...