สคช. ร่วมกับสภาอุตสาหกรรมจัดสัมมนา “สมรรถนะของคน หุ่นยนต์ เทคโนโลยี ก้าวต่อไปของอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ในอนาคต”

          พร้อมออกมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพในสาขาผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ รองรับกำลังคนในอนาคตของอุตสาหกรรมนี้ที่กำลังจะลดจำนวนลง เน้นคุณภาพมากกว่าปริมาณ ตอบสนองการควบคุมกระบวนการผลิตที่ใช้หุ่นยนต์และเทคโนโลยีแทนคนในอีก 3- 5 ปีข้างหน้า

          ดร. ประสาทศิลป์ อ่อนอรรถ ประธานคณะรับรองมาตรฐานอาชีพผลิตชิ่นส่วนยานยนต์ เปิดเผยในงานสัมมนา " สมรรถนะของคน หุ่นยนต์ เทคโนโลยี ก้าวต่อไปของอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ในอนาคต " จัดโดย สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพและสภาอุตสาหกรรมว่า ตามที่กระทรวงเศรษฐกิจการค้า และอุตสาหกรรมของญี่ปุ่น ( เมติ ) ได้ทำการสำรวจและวิจัยสถานการณ์การเติบโตของการผลิตรถยนต์จากหลายค่ายพบว่า จากนี้ไปพฤติกรรมการใช้รถยนต์ของมวลมนุษยชาติจะเกิดปรากฏการณ์ 4 เทรนด์ ที่จะพลิกโฉมอุตสาหกรรมยานยนต์ คือ Sharing , Connected , EV , และ Self Driving Car
          ทั้งนี้ Sharing คือ เกิดการใช้บริการรถยนต์สาธารณะผ่านแอพลิเคชั่น เช่น อูเบอร์ ในหลายประเทศมาตั้งแต่ปี ประสาทศิลป์ อ่อนอรรถกระทรวงเศรษฐกิจการค้ากระทรวงเศรษฐกิจการค้า9 ส่งผลให้การซื้อรถขนาดกลางไปถึงหรูลดลงมาเรื่อยๆ เพราะสามารถเรียกใช้บริการจากอูเบอร์ได้ แม้กระทั่งผู้ผลิตรถหรูหลายค่ายเริ่มสนใจเข้ามาในตลาด Sharing Market กันมากขึ้น 
          Connected คือ เทรนด์ในการใช้ข้อมูลกลางร่วมกันในการพัฒนาชิ่นส่วนยานยนต์ร่วมกัน ไม่ใช่ต่างคนต่างผลิตดังที่ผ่านมา ชิ่นส่วนสามารถใช้ได้กับรถทุกยี่ห้อ การผลิตอะไหล่ที่สามารถตอบสนองรถอูเบอร์เป็นปัจจัยสำคัญ 
          ทางด้านการผลิตรถยนต์ รถยนต์ไฟฟ้า คือ หนึ่งในทางเลือกของโลกอนาคตที่ต้องการลดมลพิษและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จะมีการผลิตรถยนต์ไฟฟ้า EV หรือElectronic Vehicle มากขึ้น ดังจะเห็นได้ว่า ในปี คศ. ประสาทศิลป์ อ่อนอรรถกระทรวงเศรษฐกิจการค้า3กระทรวงเศรษฐกิจการค้า หลายประเทศทั้งจีน, อินเดีย, อังกฤษ และฝรั่งเศส ต่างออกนโยบายให้รถยนต์ในประเทศนั้นเป็นรถยนต์ไฟฟ้าทั้งหมด และในที่สุดแล้ว พัฒนาการของยานยนต์จะสามารถไปไกลถึงขั้นสูงสุดที่สามารถขับเองได้โดยไม่ต้องใช้คน ไม่มีพวงมาลัยรถ สั่งการด้วยการกดปุ่มรถก็เคลื่อนที่ได้ตามที่เราต้องการ ( Self Driving Car )
          นายวัชรพงศ์ วราภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักบริหารคุณวุฒิวิชาชีพ สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ กล่าวว่า การเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรมยานยนต์ครั้งนี้ สร้างผลกระทบไปถึงหลายฝ่ายที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างมาก นับตั้งแต่นี้เป็นต้นไปถึงปีถึงปี ประสาทศิลป์ อ่อนอรรถกระทรวงเศรษฐกิจการค้าประสาทศิลป์ อ่อนอรรถ6 ราคาของรถยนต์ไฟฟ้าจะถูกกว่ารถยนต์แบบเดิม แน่นอนว่าแนวโน้มนี้จะทำให้ผู้คนหันมาสนใจใช้รถยนต์ไฟฟ้ากันมากขึ้น ดังนั้น หากยังไม่เตรียมความพร้อม จะเสียโอกาสทางธุรกิจเป็นอย่างมาก และมีผลกระทบกับปัญหากำลังคนในอุตสาหกรรมรถยนต์ที่จะต้องปรับตัวและพัฒนาสมรรถนะตนเอง จึงเป็นที่มาของการที่ สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ จับมือร่วมกับสภาอุตสาหกรรมเพื่อร่วมกันกำหนดทิศทางการจัดทำมาตรฐานอาขีพของแรงงานในอุตสาหกรรมนี้ เพราะจากนี้ไปอีก 3-5 ปีข้างหน้า ค่ายรถยนต์จะมุ่งผลิตแต่รถยนต์ไฟฟ้า ซึ่งชิ้นส่วนนั้นผลิตง่ายกว่า ใช้หุ่นยนต์มาแทนคนในกระบวนการผลิตหลายขั้นตอน และมีต้นทุนต่ำกว่า โอกาสที่แรงงานจะหายไปจำนวนมากจะเกิดขึ้นแน่นอน
          นายพิชัย สายชล ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ไทยซัมมิท แหลมฉบัง ออโต้พาร์ท จำกัด ผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ให้กับค่ายรถยนต์ทั้งยุโรปและญี่ปุ่น กล่าวว่า จากปรากฏการณ์ที่กล่าวมา นอกจากที่บริษัทฯ จะเพิ่มเครื่องจักรและหุ่นยนต์มากขึ้น โดยปัจจุบัน มีหุ่นยนต์ถึง 838 ตัว เทคโนโลยีที่ใช้ในส่วนของเครื่องจักรนั้นเป็นระบบ Semi Auto เป็นส่วนใหญ่ หัวใจหลัก คือ การบำรุงรักษาเครื่องจักรเหล่านี้ บริษัทฯ จึงได้เตรียมความพร้อมในเรื่อง การพัฒนากำลังคนใน 5 ปีข้างหน้าไว้แล้ว โดยในปี ประสาทศิลป์ อ่อนอรรถกระทรวงเศรษฐกิจการค้าสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ6 บริษัทฯ มีจำนวนพนักงาน สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ,กระทรวงเศรษฐกิจการค้ากระทรวงเศรษฐกิจการค้ากระทรวงเศรษฐกิจการค้า คน เป็นช่างบำรุงรักษาเพียง ประสาทศิลป์ อ่อนอรรถ8 คน ปี ประสาทศิลป์ อ่อนอรรถกระทรวงเศรษฐกิจการค้าสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ7 จะลดพนักงานเหลือ 9กระทรวงเศรษฐกิจการค้ากระทรวงเศรษฐกิจการค้า คน ปี ประสาทศิลป์ อ่อนอรรถกระทรวงเศรษฐกิจการค้าสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ8 เหลือ 884 คน ปี ประสาทศิลป์ อ่อนอรรถกระทรวงเศรษฐกิจการค้าสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ9 เหลือ 867 คน และ ประสาทศิลป์ อ่อนอรรถกระทรวงเศรษฐกิจการค้าประสาทศิลป์ อ่อนอรรถกระทรวงเศรษฐกิจการค้า เหลือ 85สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ คน
          "จากปรากฏการณ์ 4 เทรนด์ ของอุตสาหกรรมยานยนต์นี้ เพื่อที่บริษัทฯ จะสามารถรักษาความเป็นผู้นำในการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ของประเทศไทยไว้ได้นั้น บริษัทฯ ได้ลงทุนเพิ่มจำนวนการใช้เครื่องจักรและหุ่นยนต์มาทดแทนคนในกระบวนการผลิต นั่นหมายความว่า คนที่เหลืออยู่จะต้องมีประสิทธิภาพและความเชี่ยวชาญในระดับสูงในการบำรุงรักษา ปรับแต่งซ่อมแซม อย่างมืออาชีพ การสนับสนุนให้พนักงานเข้ารับการทดสอบคุณวุฒิวิชาชีพจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง " นายพิชัยกล่าว
 
 

ข่าวกระทรวงเศรษฐกิจการค้า+สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพวันนี้

สคช. ร่วมกับสภาอุตสาหกรรมจัดสัมมนา “สมรรถนะของคน หุ่นยนต์ เทคโนโลยี ก้าวต่อไปของอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ในอนาคต”

พร้อมออกมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพในสาขาผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ รองรับกำลังคนในอนาคตของอุตสาหกรรมนี้ที่กำลังจะลดจำนวนลง เน้นคุณภาพมากกว่าปริมาณ ตอบสนองการควบคุมกระบวนการผลิตที่ใช้หุ่นยนต์และเทคโนโลยีแทนคนในอีก 3- 5 ปีข้างหน้า ดร. ประสาทศิลป์ อ่อนอรรถ ประธานคณะรับรองมาตรฐานอาชีพผลิตชิ่นส่วนยานยนต์ เปิดเผยในงานสัมมนา " สมรรถนะของคน หุ่นยนต์ เทคโนโลยี ก้าวต่อไปของอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ในอนาคต " จัดโดย สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพและสภาอุตสาหกรรมว่า ตามที่กระทรวงเศรษฐกิจการค้า และอุตสาหกรรมของญี่ปุ่น ( เมติ )

ผลสำเร็จจากความร่วมมือ ไทย-ญี่ปุ่น "ทีมสน... ผลสำเร็จจากความร่วมมือ ไทย-ญี่ปุ่น "ทีมสนับสนุนอุตสาหกรรมอัจฉริยะ The Smart Monodzukuri Support Team" — ผลสำเร็จจากความร่วมมือ ไทย-ญี่ปุ่น "ทีมสนับสนุนอุต...

"ชยพร พรประภา" ร่วมกับมัตซึนากะและโตไกกิก... “พรประภา” แตกไลน์ธุรกิจบริการ ทำความสะอาดและฆ่าเชื้อเพื่อสุขภาพอนามัย — "ชยพร พรประภา" ร่วมกับมัตซึนากะและโตไกกิกิ รุกคืบธุรกิจเพื่อสุขภาพอนามัย โดยมุ่งเน...

รมว.คลังเยี่ยมคารวะ รมว.กระทรวงเศรษฐกิจการค้าและอุตสาหกรรมของญี่ปุ่น พร้อมหารือผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานเศรษฐกิจและบริษัทเอกชนญี่ปุ่น

นายลวรณ แสงสนิท ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ในฐานะโฆษกกระทรวงการคลัง เปิดเผยว่า ดร.อุตตม สาวนายน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และคณะ ได้เข้าพบนาย Hiroshige...

นายคัทซึฮิโกะ ซุกิโตะ กรรมการบริหาร บริษั... “เด็นโซ่” เสริมความแข็งแกร่ง SMEs ไทย — นายคัทซึฮิโกะ ซุกิโตะ กรรมการบริหาร บริษัท เด็นโซ่คอร์ปอเรชั่น (สำนักงานใหญ่ เมืองคาริยะ จังหวัดไอจิ ประ...

นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี น... ภาพข่าว: ต้อนรับนักธุรกิจญี่ปุ่น — นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี นำคณะนักธุรกิจชาวญี่ปุ่นกว่า 570 ราย นำโดยนายฮิโรชิเกะ เซโกะ...

นาย จิรัฐ บวรวัฒนะ หุ้นส่วน บริษัท Thai N... มิ้นต์-เก๋ ชวนเที่ยว The Wonder of KYUSHU — นาย จิรัฐ บวรวัฒนะ หุ้นส่วน บริษัท Thai NaKama จำกัด ร่วมกับรัฐบาลญี่ปุ่นโดย กระทรวงเศรษฐกิจการค้าแ...

TCELS - มหิดล ร่วมมือญี่ปุ่นพัฒนาทดสอบมาตรฐานผลิตภัณฑ์หุ่นยนต์แพทย์

TCELS มหิดล ลงนามความร่วมมือรัฐบาลและสถาบันวิจัยชั้นนำญี่ปุ่น พัฒนาและทดสอบมาตรฐานผลิตภัณฑ์หุ่นยนต์การแพทย์ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (TCELS) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล...