การประชุม
คณะกรรมการนโยบายการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ครั้งที่ คณะกรรมการนโยบาย/คณะกรรมการนโยบาย56สภานิติบัญญัติแห่งชาติ โดยมี ท่านนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน มีสาระสำคัญจากการประชุม ดังนี้
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ. ความคืบหน้าร่างพระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. คณะกรรมการนโยบาย3การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ;
ที่ประชุมรับทราบว่าร่างพระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. คณะกรรมการนโยบาย3การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ; ได้ผ่านการเห็นชอบของ
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ และได้ขอบคุณ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และ กรรมาธิการที่ช่วยปรับปรุงและให้ความเห็นชอบต่อร่างพระราชบัญญัติ
คณะกรรมการนโยบาย. การขยายพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก
ที่ประชุมเห็นชอบในหลักการให้สำนักงานเพื่อการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (สกรศ.) ไปศึกษาการขยายพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษในพื้นที่เชื่อมโยงกับ 3 จังหวัดเดิม โดยให้นำเสนอเข้าที่ประชุมในภายหลังจากที่พระราชบัญญัติมีผลใช้บังคับแล้ว
3. โครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน ดอนเมือง สุวรรณภูมิ อู่ตะเภา
ที่ประชุมเห็นชอบในหลักการของ โครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน และให้นำเสนอ ครม. เพื่อพิจารณา โดยโครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน ดอนเมือง สุวรรณภูมิ อู่ตะเภา เป็น สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ใน 5 โครงการเร่งด่วนด้านโครงสร้างพื้นฐานที่มีผลต่อความสำเร็จของการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก ทั้งนี้โครงการนี้พัฒนามาจากโครงการรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก (ลาดกระบัง-ระยอง) ที่เป็นโครงการเดิม โดยได้ปรับปรุงหลักการให้เข้าเชื่อม 3 สนามบินอย่างไร้รอยต่อ อันจะเกิดประโยชน์สูงสุดกับประเทศและประชาชนในอนาคต
สรุปสาระสำคัญ
รถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน ดอนเมือง สุวรรณภูมิ และ อู่ตะเภา (ตัวเลขในรายละเอียดจะนำต้องนำเข้าสู่การพิจารณาของ ครม. ก่อนจึงจะสามารถแถลงได้อย่างเป็นทางการ)
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ.รถไฟสายนี้เป็นสายอนาคตสำหรับภาคตะวันออกและมีผลตอบแทนทางเศรษฐกิจสูง
การพัฒนา EEC เป็นการสร้างพื้นที่ต่อขยายของเมืองให้กับกรุงเทพฯ รถไฟความเร็วสูงเส้นนี้มีความสำคัญ 4 ด้านคือ
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ) รถไฟความเร็วสูงสายนี้จะเข้าเชื่อมโยง 3 สนามบิน จะเป็นการยกระดับสนามบินอู่ตะเภามาเป็นสนามบินนานาชาติแห่งที่ 3 ให้ทำงานควบคู่กับสนามบินดอนเมือง และสนามบินสุวรรณภูมิ ที่มีผู้โดยสารเกินความจุแล้ว สภานิติบัญญัติแห่งชาติ7 ล้านคนต่อปี
ด้วยความเร็ว คณะกรรมการนโยบาย5การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ กิโลเมตร/ชม. สนามบินอู่ตะเภาสามารถเชื่อมกับกรุงเทพฯ ได้ใน 45 นาที เทียบกับ คณะกรรมการนโยบาย-3 ชั่วโมงโดยรถยนต์
ในอนาคตผู้โดยสาร สามารถลงเครื่องบินที่สนามบินอู่ตะเภา แล้วขึ้นรถไฟความเร็วสูงเข้ากรุงเทพฯ ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว (ใช้เวลาใกล้เคียงกับ สนามบินนาริตะเข้ากรุงโตเกียว)
คณะกรรมการนโยบาย) รถไฟความเร็วสูง เป็นการเปิดพื้นที่การพัฒนาจากกรุงเทพฯ เชื่อม ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง โดยจะมีสถานีรถไฟ 5 สถานี (ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ศรีราชา พัทยา อู่ตะเภา) ซึ่งนอกจากจะมีการพัฒนาบริเวณสถานีให้เป็นพื้นที่พัฒนาเชื่อมโยงกับชุมชนชนเก่าแล้ว ประชาชนตลอดเส้นทาง สามารถมาใช้บริการโดยนำรถยนต์ไปจอดที่สถานีเหล่านี้ได้ ทำให้ประหยัดเวลาการเดินทางมาก โดยเฉพาะช่วงเวลาเร่งด่วน ซึ่งขณะนี้รถติดมาก และประเทศได้ประโยชน์จากการลดการใช้น้ำมันและลดความแออัดบนถนน
3) รถไฟความเร็วสูง ที่ความเร็ว คณะกรรมการนโยบาย5การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ กิโลเมตร/ชม. นี้ เป็นช่วงแรกของการเชื่อมโยงพื้นที่พัฒนาไปสู่ ระยอง จันทบุรี และตราดในอนาคตอันใกล้
3.สภานิติบัญญัติแห่งชาติ) คาดว่าใช้เวลาเดินทางจาก กรุงเทพฯ - ระยอง 6การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ นาที กรุงเทพฯ - จันทบุรี สภานิติบัญญัติแห่งชาติการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ นาที และกรุงเทพฯ - ตราด สภานิติบัญญัติแห่งชาติคณะกรรมการนโยบายการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ นาที ซึ่งเป็นระยะเวลาที่เหมาะสม และจะทำให้คนส่วนใหญ่หันมาใช้การเดินทางด้วยรถไฟความเร็วสูง แทนการเดินทางโดยรถยนต์
3.คณะกรรมการนโยบาย) มีการศึกษาว่าถ้ารถไฟความเร็วสูง ลดความเร็วลงเหลือ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ6การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ กม./ชม. ต้นทุนการก่อสร้างจะลดลงไม่มาก (ประมาณร้อยละ 5) แต่จะใช้เวลาเดินทางจาก กรุงเทพฯ - ตราด นานถึง 3 ชม. ซึ่งอาจไม่สามารถทำให้มีการใช้สนามบินอู่ตะเภาอย่างเต็มประสิทธิภาพ และประชาชนก็จะได้ประโยชน์ไม่เต็มที่
3.3) นอกจากนั้นในปัจจุบันการพัฒนาเทคโนโลยีรถไฟความเร็วสูง มีการพัฒนาความเร็วมากขึ้นเป็น 3การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ -35การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ ก.ม./ช.ม. ในต้นทุนที่ไม่เพิ่มขึ้นมากนัก ซึ่งมาตรฐาน คณะกรรมการนโยบาย5การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ ก.ม./ช.ม. กลายเป็นมาตรฐานความเร็วต่ำสุดในปัจจุบัน
3.4) การกำหนดเส้นทางรถไฟความเร็วสูงจากสนามบินอู่ตะเภา – ระยอง – จันทบุรี - ตราด เป็นระยะที่สอง เป็นเพราะเส้นทางรถไฟไประยองที่ศึกษาไว้ วิ่งเข้าไปในเขตนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดซึ่งเป็นเขตควบคุมสิ่งแวดล้อม ทำให้ที่ต้องมีการศึกษาสิ่งแวดล้อมเป็นกรณีพิเศษและใช้เวลานานซึ่งจะทำให้โครงการทั้งหมดล่าช้า
3.5) ระยะทางจากกรุงเทพฯ - สนามบินอู่ตะเภา (ประมาณ คณะกรรมการนโยบายการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ กิโลเมตร) และกรุงเทพฯ - ตราด (ประมาณ 3คณะกรรมการนโยบายการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ กิโลเมตร) นั้น "สั้นเกินไป" ที่จะเชื่อมโยงโดยมีสายการบินตรงจากกรุงเทพฯ ไปอู่ตะเภา หรือ ตราด รวมทั้งจำนวนผู้โดยสารกระจายในหลายจังหวัด ดังนั้นเส้นทางคมนาคมเชื่อมกรุงเทพฯ - อู่ตะเภา และกรุงเทพฯ - ตราดที่เหมาะที่สุดคือการใช้รถไฟความเร็วสูง
4) ผลการวิเคราะห์ผลตอบแทนทางด้านเศรษฐกิจตลอดทั้งโครงการประมาณ 7การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ,การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ ล้านบาท (มูลค่าปัจจุบัน)โดยแบ่งเป็น 5การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ ปีแรก มีมูลค่าทางเศรษฐกิจประมาณ 4การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ,การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ ล้านบาท (มูลค่าปัจจุบัน) ซึ่งมากกว่าเงินลงทุนประมาณ คณะกรรมการนโยบายการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ,การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ ล้านบาท (มูลค่าปัจจุบัน) จึงถือว่าเป็นผลตอบแทนที่คุ้มค่าต่อการลงทุน ผลตอบแทนดังกล่าวมาจาก
มูลค่าเพิ่มการนำสนามบินอู่ตะเภามาใช้ประโยชน์
ลดการใช้น้ำมัน ลดเวลาการเดินทาง ลดมลพิษสิ่งแวดล้อมจากการใช้รถยนต์
ผลตอบแทนทางจากการพัฒนาเศรษฐกิจตลอดเส้นทาง
การจ้างงานและการใช้ปัจจัยการผลิตในประเทศไทย
รัฐจะจัดเก็บภาษีต่างๆ ได้เพิ่มขึ้น