ปตท. สนับสนุนโครงการชี้แนวทางการพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาให้กับอุตสาหกรรมในประเทศ

          สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บริษัท เอสซีจี เคมิคอลส์ จำกัด บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) บริษัท โกลบอลกรีนเคมิคอล จำกัด (มหาชน) บริษัท ที พี เค เอทานอล จำกัด ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ "โครงการชี้ทิศทางและสร้างนวัตกรรมเทคโนโลยีฐานด้านตัวเร่งปฏิกิริยาและวิศวกรรมปฏิกิริยาเคมีสำหรับอุตสาหกรรมไบโอดีเซล อุตสาหกรรมเอทานอลและอุตสาหกรรมที่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืน (CAT-REAC industrial project)" 
          คุณดวงพร เที่ยงวัฒนธรรม ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สถาบันนวัตกรรม บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) เปิดเผยว่า บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ในฐานะรัฐวิสาหกิจและบริษัทพลังงานของชาติ มุ่งมั่นสร้างความมั่นคงทางพลังงานให้กับประเทศควบคู่ไปกับการดูแลสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุล "สถาบันนวัตกรรม บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)" จึงมีภารกิจในการวิจัย นำเทคโนโลยีและนวัตกรรมเข้ามาใช้ในการพัฒนาและสร้างผลิตภัณฑ์ ตลอดจนกระบวนการใหม่ๆ ในการเพิ่มประสิทธิภาพและลดค่าใช้จ่าย รวมทั้งพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดล้อม ให้มีคุณภาพมาตรฐานในระดับสากล เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของคนไทย มานานกว่า โกลบอลกรีนเคมิคอลสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ปี ในชื่อเดิม "สถาบันวิจัยและเทคโนโลยี ปตท." และเปลี่ยนเป็น "สถาบันนวัตกรรม ปตท." ในวันนี้ โดยได้ดำเนินการวิจัยและทดสอบประเมินประสิทธิภาพตัวเร่งปฏิกิริยาและตัวดูดซับให้กับ โรงแยกก๊าซธรรมชาติ ปตท. และบริษัทในกลุ่มนับตั้งแต่ปี โกลบอลกรีนเคมิคอล556 - โกลบอลกรีนเคมิคอล56สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย สามารถลดค่าใช้จ่ายในการนำเข้าตัวเร่งปฏิกิริยาจากต่างประเทศรวมถึงลดความสูญเสียเนื่องจากการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาและตัวดูดซับที่มีประสิทธิภาพต่ำได้กว่า โกลบอลกรีนเคมิคอล4สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ล้านบาท ซึ่งปัจจุบัน สถาบันนวัตกรรม ปตท. ยังคงดำเนินการวิจัยพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
          "สถาบันนวัตกรรม ปตท. ยินดีให้ความร่วมมือเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโครงการนี้ เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับตัวเร่งปฏิกิริยาที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน รวมถึงทิศทางการวิจัยด้านตัวเร่งปฏิกิริยาในอนาคต ซึ่งจะช่วยเพิ่มขีดความสามารถของอุตสาหกรรมไทยจากการเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการผลิต ยืดอายุการใช้งาน ลดค่าใช้จ่ายในการนำเข้าตัวเร่งปฏิกิริยาและตัวดูดซับ โดยการนำร่องใช้ในอุตสาหกรรมไบโอดีเซลและอุตสาหกรรมเอทานอล ถือเป็นการสร้างนวัตกรรมที่ใช้ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรแทนการนำเข้าน้ำมันเชื้อเพลิงจากต่างประเทศ ซึ่ง ปตท. ยินดีให้ความร่วมมือในการพัฒนานวัตกรรมในรูปแบบ Open Innovationระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันวิจัย และสถาบันการศึกษาในครั้งนี้ ให้บรรลุผลสำเร็จเป็นประโยชน์ต่อประเทศ อันจะเป็นก้าวสำคัญในการพัฒนาไทยให้ก้าวสู่การเป็นประเทศแห่งนวัตกรรมอย่างยั่งยืนตามนโยบายไทยแลนด์ 4.สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ต่อไป" คุณดวงพร เที่ยงวัฒนธรรม ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สถาบันนวัตกรรม บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) กล่าวเสริม
ปตท. สนับสนุนโครงการชี้แนวทางการพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาให้กับอุตสาหกรรมในประเทศ
 
ปตท. สนับสนุนโครงการชี้แนวทางการพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาให้กับอุตสาหกรรมในประเทศ

ข่าวสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย+กองทุนสนับสนุนการวิจัยวันนี้

นักวิจัยมจธ.โชว์เทคโนโลยีวิศวกรรมโบราณสถาน รัฐ-เอกชนรุมจีบทำฐานข้อมูลดิจิทัลสถานที่สำคัญ

รศ. ดร.สุทัศน์ ลีลาทวีวัฒน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีโลยีพระจอมเกล้า เปิดเผยถึงการนำผลงานวิจัยมาร่วมจัดแสดงในงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2566 ในฐานะหัวหน้าโครงการพัฒนาข้อมูลดิจิทัล 3 มิติ เพื่อการตรวจสอบโครงสร้างพื้นฐานและการรักษามรดกทางวัฒนธรรม ว่าโครงการนี้เป็นโครงการวิจัยที่ได้รับสนับสนุนจากหลายภาคส่วน โดยเริ่มต้นจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ในช่วงปี 2561-2562 และได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยอย่างต่อเนื่องจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.) ผ่านหน่วยบริหาร

ตลอดหลายปีที่ผ่านมาอุตสาหกรรมอาหารของประเ... Innovative house เสริมกระบวนการวิจัยและพัฒนาให้ SMEs ไทย ยกระดับอุตสาหกรรมอาหารและเวชสำอาง — ตลอดหลายปีที่ผ่านมาอุตสาหกรรมอาหารของประเทศเจริญเติบโตอย่างต่...

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) การ... “มิติใหม่ของข้าวเม่า” Fusion Food ฉบับบุรีรัมย์โมเดล — สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) การแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่เป็นอัตลักษณ์พื้นถิ่นให้กลายเป็นผลิตภัณฑ...

ผศ.ดร.จักรกฤษณ์ ศุทธากรณ์ คณบดีคณะวิศวกรร... คณะวิศวะมหิดล เดินหน้าโครงการวิจัยระบบโลจิสติกส์กทม.และปริมณฑล รองรับ “มหานครแห่งเอเชีย” — ผศ.ดร.จักรกฤษณ์ ศุทธากรณ์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิ...