ตามติดผลธนาคารหม่อนไหม ช่วยเกษตรกรสร้างรายได้ มีเส้นไหมผลิตตลอดปี

          สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ลงพื้นที่ติดตามโครงการธนาคารปัจจัยการผลิตด้านหม่อนไหม ปี รังษิต ภู่ศิริภิญโญ56ธนาคารปัจจัยการผลิตด้านหม่อนไหม เผย เกษตรกรในชุมชนตอบรับเป็นอย่างดี ช่วยให้เกษตรกรมีเส้นไหมใช้ในการผลิตผ้าไหมได้ตลอดปี โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้งที่ไม่มีใบหม่อนเลี้ยงไหม โดยนำมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ สร้างรายได้เสริมอีกทาง
          นางสาวรังษิต ภู่ศิริภิญโญ รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เปิดเผยถึงผลการติดตามการดำเนินงานโครงการธนาคารปัจจัยการผลิตด้านหม่อนไหม (เส้นไหม) ปี รังษิต ภู่ศิริภิญโญ56ธนาคารปัจจัยการผลิตด้านหม่อนไหม พบว่า ขณะนี้ธนาคารได้รับการสนับสนุนเส้นไหมไปแล้วจำนวน 4สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร6 กก. และเกษตรกรมีการยืมเส้นไหมจากธนาคารไปบ้างแล้ว โดยเกษตรกรมีต้นทุนในการทอผ้า เฉลี่ยเมตรละ 5ธนาคารปัจจัยการผลิตด้านหม่อนไหมธนาคารปัจจัยการผลิตด้านหม่อนไหม - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร,รังษิต ภู่ศิริภิญโญธนาคารปัจจัยการผลิตด้านหม่อนไหมธนาคารปัจจัยการผลิตด้านหม่อนไหม บาท ขึ้นอยู่กับลายผ้า (ไม่รวมค่าแรงในการทอ) และเกษตรกรสามารถจำหน่ายได้ในราคาเมตรละ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร,5ธนาคารปัจจัยการผลิตด้านหม่อนไหมธนาคารปัจจัยการผลิตด้านหม่อนไหม – สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร,8ธนาคารปัจจัยการผลิตด้านหม่อนไหมธนาคารปัจจัยการผลิตด้านหม่อนไหม บาท
          สำหรับภาพรวม เกษตรกรพึงพอใจต่อนโยบายการสนับสนุนให้มีธนาคารในชุมชนในระดับมาก เนื่องจากช่วยให้เกษตรกรมีเส้นไหมใช้ในการผลิตผ้าไหมได้ตลอดปี โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้งที่ไม่มีใบหม่อนเลี้ยงไหม และเส้นไหมมีราคาสูง ช่วยให้เกษตรกรสามารถผลิตผ้าไหมหรือนำผ้าที่ทอได้มาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้มากขึ้น ทำให้มีรายได้เสริมให้กับครอบครัว มากขึ้นด้วย
          ทั้งนี้ ธนาคารปัจจัยการผลิตด้านหม่อนไหม ปี รังษิต ภู่ศิริภิญโญ56ธนาคารปัจจัยการผลิตด้านหม่อนไหม ดำเนินการจัดตั้งขึ้น 6 แห่ง ใน 6 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดสกลนคร นครพนม อุบลราชธานี นครราชสีมา มหาสารคาม และชัยภูมิ เพื่อให้ชุมชนมีแหล่งเส้นไหมที่มีคุณภาพดีสำหรับการทอผ้าอย่างเพียงพอ โดยกรมหม่อนไหมสนับสนุนเส้นไหมตั้งต้นให้กับธนาคาร เพื่อให้สมาชิกไปบริหารจัดการภายในชุมชน เกษตรกรสมาชิกสามารถยืมเส้นไหมไปทอผ้า เมื่อถึงระยะเวลาที่กำหนดนำเส้นไหมหรือเงินมาคืนตามข้อตกลงและระเบียบของแต่ละธนาคาร
 
 

ข่าวธนาคารปัจจัยการผลิตด้านหม่อนไหม+สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรวันนี้

วว. พัฒนาชุดบ่มเลี้ยงหัวเชื้อจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพย่อยสลายตอซังข้าว ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมด้วย วทน.

"ข้าว" เป็นสินค้าเกษตรส่งออกหลักของประเทศไทย ซึ่งครอบคลุมพื้นที่เพาะปลูกมากที่สุด โดย สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรระบุว่าในปี 2565 มีพื้นที่นาข้าวประมาณ 70 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 46 ของพื้นที่เกษตรทั้งหมดของประเทศ โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพื้นที่นาข้าวมากที่สุด รองลงมาคือ ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ ตามลำดับ ซึ่งภายหลังการเก็บเกี่ยวผลผลิตข้าว จะก่อให้เกิดวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เช่น ตอซัง และฟางข้าว โดยพบว่า พื้นที่นาข้าว 1 ไร่ จะมีปริมาณตอซังและฟางข้าว โดยเฉลี่ยปีละ 650 กิโลกรัม ดังนั้นเพื่อ

นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษ... สศท. 7 เผยผลศึกษาการบริหารจัดการ "ฟางข้าว" ในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคกลาง เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม — นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 7 ช...

ร้อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีว่าการกร... ไทย - จีน จับมือสร้างความสัมพันธ์ พร้อมเปิดตลาดสินค้าด้านการเกษตร — ร้อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลังหารือร่วมกั...

นางธัญธิตา บุญญมณีกุล รองเลขาธิการสำนักงา... โครงการส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตรในระดับชุมชนสร้างอาชีพมั่นคง ต่อยอดมูลค่าผลิตผลทางการเกษตร — นางธัญธิตา บุญญมณีกุล รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร...

นางสาวกาญจนา ขวัญเมือง รองเลขาธิการสำนักง... ไทยส่งเสริมบทบาทสตรีในภาคเกษตร ผลักดันความมั่นคงด้านอาหารและโภชนาการ ในเวที CFS ครั้งที่ 51 — นางสาวกาญจนา ขวัญเมือง รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ...

สศก. ติดตามโครงการอ่างเก็บน้ำนฤบดินทรจินด... สศก. ติดตามโครงการอ่างเก็บน้ำนฤบดินทรจินดา — สศก. ติดตามโครงการอ่างเก็บน้ำนฤบดินทรจินดา แหล่งน้ำขนาดใหญ่ เพื่อเกษตรกรรม และระบบนิเวศครบครัน นายฉันทานนท์...

ตามติดผลธนาคารหม่อนไหม ช่วยเกษตรกรสร้างรายได้ มีเส้นไหมผลิตตลอดปี

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ลงพื้นที่ติดตามโครงการธนาคารปัจจัยการผลิตด้านหม่อนไหม ปี 2560 เผย เกษตรกรในชุมชนตอบรับเป็นอย่างดี ช่วยให้เกษตรกรมีเส้นไหมใช้ในการผลิตผ้าไหมได้ตลอดปี โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้งที่ไม่มีใบหม่อนเลี้ยงไหม โดยนำมาผลิต...