เชิญชวนส่งผลงานเข้าประกวดโครงการ Thailand ICT Youth Challenge 2016

          เจ้าภาพร่วมโดย
          กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร6; กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (MICT)
          กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร6; สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
          จัดโดย
          กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร6; สมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ATCI)
          สนับสนุนโดย
          กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร6; สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ (สสวท.)
          กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร6; สำนักงานเพื่อการศึกษาในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก (UNESCO)
          กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร6; องค์การรัฐมนตรีศึกษาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SEAMEO)
          กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร6; ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC สวทช.)
          กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร6; สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (SIPA)
          เงื่อนไขการจัดส่งผลงานเข้าร่วมประกวด
          สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. การส่งผลงาน ให้โรงเรียนส่งผลงานได้ไม่เกิน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ ผลงานในแต่ละช่วงชั้น
          กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. คุณครูที่ปรึกษา มีส่วนร่วมในการแนะนำ ให้แนวทางเท่านั้น
          3. ผลงานที่ส่งเข้าประกวด จะต้องประกอบด้วย
          o ใบสมัครเข้าร่วมการแข่งขัน โครงการ Thailand ICT Youth Challenge กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี6
          o ผลงานส่งมาในรูปแบบดังนี้        
เชิญชวนส่งผลงานเข้าประกวดโครงการ Thailand ICT Youth Challenge 2016
          แผ่นซีดีรอม / ดีวีดี จำนวน 2 ชุด
          สำหรับพาวเวอพ้อย ปริ้น A4 1 สไลด์ต่อหนึ่งแผ่น ภาพสี
          o ใบสมัครสามารถถ่ายสำเนาจากเอกสารการประชาสัมพันธ์โครงการฯ และ ดาวน์โหลดได้ที่ www.thictyouth.com / facebook : thictyouth
          4. ผลงานที่เคยผ่านการประกวดและได้รับรางวัล ไม่อนุญาตให้ส่งเข้าประกวดใน โครงการ Thailand ICT Youth Challenge 2016 หากทางคณะกรรมการตรวจพบ จะตัดสิทธิ์ในการเข้าแค้มป์ และเงินรางวัล
          5. ผลงานที่จัดทำขึ้นมา ต้องสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง และพัฒนาได้อย่างต่อเนื่องในอนาคต
          6. ในการตัดสิน คณะกรรมการตัดสินผู้ทรงคุณวุฒิจะเป็นผู้พิจารณาผลงานที่ส่งเข้ามา การพิจารณาตัดสินของคณะกรรมการฯ ถือเป็นที่สิ้นสุด
          7. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และบริษัทที่สนับสนุนโครงการฯ มีสิทธิ์ในการเผยแพร่หรือจัดพิมพ์ผลงานทุกชิ้นที่จัดส่งเข้าประกวด โดยปราศจากข้อผูกมัดใดๆ
          8. ซอฟต์แวร์ เนื้อหา ตัวละคร หรือองค์ประกอบอื่นใดที่ใช้ในการผลิต ต้องไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อื่น และต้องไม่เข้าข่ายการกระทำอื่นใดที่เป็นความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2554 ทั้งนี้ คณะผู้จัดงาน ไม่มีส่วนรับผิดชอบในการกระทำของผู้เข้าประกวดตามรายละเอียดดังกล่าว
          9. ผู้ส่งผลงานเข้าประกวดไม่ต้องเสียค่าสมัครใดๆ ทั้งสิ้น
          10. ส่งผลงานเข้าร่วมประกวดและสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ :
          บริษัท แอ๊บโซลูทท์ อัลลายแอนซ์ (ประเทศไทย) จำกัด (ผู้บริหารโครงการฯ)
159/21 อาคารเสริมมิตร ทาวเวอร์ ชั้น 14 ถนนสุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110
โทรศัพท์ 02-661-7750 แฟกซ์ 02-661-7757 E-mail : [email protected]

          หัวข้อการแข่งขัน

          หัวข้อการแข่งขันจัดแบ่งเป็น 3 หัวข้อตามระดับช่วงชั้นการศึกษา เพื่อให้เยาวชนได้มีโอกาสแสดงความสามารถ และความคิดสร้างสรรค์ของตน ออกมาอย่างเต็มที่ ด้วยโปรแกรมที่มีให้เลือกหลากหลายความถนัด โดยมีเงื่อนไขว่ากิจกรรมที่จัดทำขึ้นมา ต้องสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง และพัฒนาได้อย่างต่อเนื่องใน อนาคต
          1. นักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย (ป.4-6)
          • โปรแกรมเพาเวอร์พอย
          • หัวข้อ "วิถีโลก วิถีไทย อย่างไรถึงยั่งยืน"
          • จำนวน 15 สไลด์
          เกณฑ์การตัดสินเพาเวอร์พอย
          • เนื้อหาในภาพรวม คือ ความถูกต้องและสมบูรณ์ของเนื้อหา, การร้อยเรียงเนื้อเรื่อง, การใช้ภาษา 40 คะแนน
          • ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และความสวยงาม คือ ความกลมกลืนของผลงาน, เฉดสี, แบบตัวอักษร และพื้นหลัง 30 คะแนน
          • การใช้เทคนิคของโปรแกรม คือ ความเชื่อมโยงของสไลด์, ลูกเล่น 30 คะแนน
          รูปแบบการส่งผลงาน
          • ซีดี 2 แผ่น และปริ้นเอกสาร A4 1 สไลด์ ต่อ หนึ่งแผ่น ภาพสี 2 ชุด
          2. นักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-3)
          • ภาพยนตร์สั้น
          • หัวข้อ "เมื่อดิจิทัล ครองโลก"
          • ความยาวไม่เกิน 3 นาที
          เกณฑ์การตัดสิน
          • เนื้อหาในภาพรวม คือ ความเหมาะสมของเนื้อหา การเรียบเรียงเรื่องราว ตลอดจนการถ่ายทอดเนื้อหาที่เป็นประโยชน์ เพื่อให้เกิดความเข้าใจ และปฏิบัติตามได้ง่าย 40 คะแนน
          • ความคิดสร้างสรรค์ คือ ความคิดสร้างสรรค์ ความโดดเด่นที่ช่วยให้ผู้ชมเกิดความประทับใจ และเกิดการจดจำ 30 คะแนน
          • คุณภาพการผลิต คือ คุณภาพของภาพ เสียง การตัดต่อ ความสวยงามของผลงาน 30 คะแนน
          ข้อแนะนำ : ควรมีสตอรี่บอร์ดประกอบ
          รูปแบบการส่งผลงาน
          • ซีดี 2 แผ่น พร้อมเอกสารสตอรี่บอร์ดประกอบคำบรรยาย 2 ชุด
          3. นักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6)
          • Mobile Application Theme : ความเป็นไทย 3 หมวด ดังนี้
          1.เสริมสร้างคุณภาพชีวิต สังคม สิ่งแวดล้อม
          2.เสริมสร้างการเรียนรู้ การศึกษา
          3.เสริมสร้างด้านเศรษฐกิจ ลงทุน ท่องเที่ยว
          เกณฑ์การตัดสิน
          • ความสมบูรณ์ของข้อเสนอ คือ ด้านความสมบูรณ์ของข้อเสนอโครงการ ข้อเสนอโครงการมีรูปแบบและหัวข้อครบถ้วน สามารถสื่อสารให้ผู้อ่านเข้าใจได้ ใช้ภาษาได้ถูกต้อง มีภาพ ตาราง หรือตัวอย่างประกอบทำให้สื่อได้ชัดเจน 20 คะแนน
          • ความเหมาะสมในการใช้เทคโนโลยีในการพัฒนา คือ ด้านความยากง่ายในการพัฒนา เทคนิคที่ใช้มีความซับซ้อน หรือ ขั้นสูง เทคโนโลยีใหม่และมีสิทธิภาพ มีคุณค่าในเชิงงานพัฒนาหรือการวิจัย หรือใช้เทคนิคที่ไม่ซับซ้อนมาก แต่ถ่ายทอดได้น่าสนใจ 20 คะแนน
          • ความคิดสร้างสรรค์ คือ เลือกหัวข้อที่น่าสนใจ แปลก ใหม่ ยังไม่มีผู้พัฒนาหรือคิดค้นมาก่อน หรือ มีผู้พัฒนามาแล้ว แต่นำเสนอหรือพัฒนาในแนวทางที่แตกต่างกันออกไป 25 คะแนน
          • ประโยชน์ใช้งาน คือ สามารถนำไปใช้งานได้จริง มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมในวงกว้าง สามารถนำไปผลิตในเชิงพาณิชย์ได้ สามารถนำไปต่อยอดได้ 20 คะแนน
          • ความน่าจะพัฒนาให้เสร็จ คือ ด้านความน่าจะพัฒนาโครงการได้เสร็จตามกำหนด ขอบเขตงาน สามารถพัฒนาได้เสร็จภายในระยะเวลาที่เหมาะสม 15 คะแนน
          รูปแบบการส่งผลงาน
          • ซีดี 2 แผ่น พร้อมเอกสารสตอรี่บอร์ดประกอบคำบรรยาย 2 ชุด
          เข้าร่วมแค้มป์ : โครงการ Thailand ICT Youth Challenge 2016
          น้อง ๆ เจ้าของผลงานที่ได้รับการคัดเลือกจากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในรอบที่หนึ่ง พร้อมครูที่ปรึกษาจะได้ร่วมเข้าแค้มป์ Thailand ICT Youth Challenge 2016 เพื่อการฝึกทักษะและเพิ่มพูนความรู้ทางด้านไอที และทำกิจกรรมร่วมกัน ของเยาวชน และครู
กำหนดการจัดส่งผลงานเข้าร่วมประกวด : โครงการ Thailand ICT Youth Challenge 2016
          • จัดส่งผลงานเข้าประกวด : 1 พฤษภาคม – 30 กรกฎาคม 2559
          • ประกาศผลทีมที่ได้ผ่านการคัดเลือกรอบที่ 1 ที่ www.thictyouth.com : 30 สิงหาคม 2559
          • เข้าร่วมค่ายเยาวชน ที่ สถาบันวิชาการ ทีโอที พร้อมอาจารย์ที่ปรึกษา : 9-11 พฤศจิกายน 2559
          • ประกาศผลรางวัล และพิธีการมอบรางวัล : ธันวาคม 2559 – มกราคม 2560
          หมายเหตุ : กำหนดการ วัน เวลาและสถานที่ อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ สามารถติดตามรายละเอียดได้ที่ www.thictyouth.com , facebook : https://www.facebook.com/thictyouth-1491078597792020/
 


ข่าวสำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ+สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวันนี้

เชิญชวนส่งผลงานเข้าประกวดโครงการ Thailand ICT Youth Challenge 2016

เจ้าภาพร่วมโดย • กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (MICT) • สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จัดโดย • สมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ATCI) สนับสนุนโดย • สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ (สสวท.) • สำนักงานเพื่อการศึกษาในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก (UNESCO) • องค์การรัฐมนตรีศึกษาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SEAMEO) • ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC สวทช.) • สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ

นางมาลี โชคล้ำเลิศ อธิบดีกรมส่งเสริมการค้... DITP ร่วมกับภาครัฐและเอกชน จัดเจรจาการค้าธุรกิจดิจิทัลคอนเทนท์ ในงาน BIDC 2017 — นางมาลี โชคล้ำเลิศ อธิบดีกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เป...

· เปิดใจ 2 นักศึกษาคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ส... นักวิชาการ สจล. ชี้โอกาสเกม “E-Sports” ช่วยพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีไทย ยุค 4.0 — · เปิดใจ 2 นักศึกษาคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สจล. จากอดีต "เด็กติดเกม" ก้าวสู...

การจัดสัมมนา SIPA Technology Meetup 2016 ... SIPA Tech Meetup #8 : The Technology Enabled Internet of Things — การจัดสัมมนา SIPA Technology Meetup 2016 : The Power of Collaboration เป็นการจัดงาน SIPA...

โลกดิจิตัลที่ไม่เคยหยุดนิ่ง ผนึกกำลังประช... 4 พลังขับเคลื่อน...ดิจิตัลสตาร์ทอัพไทยสู่เวทีโลก — โลกดิจิตัลที่ไม่เคยหยุดนิ่ง ผนึกกำลังประชารัฐ ตอบรับยุคไทยแลนด์ 4.0 สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์...

ด้วยสำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห... SIPA Tech Meetup #8 : The Technology Enabled Internet of Things — ด้วยสำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ได้กำหนดให้มีการจัดสัมมนา...

การจัดสัมมนา SIPA Technology Meetup 2016 ... SIPA Tech Meetup #7 : Machine Learning and the Wisdom from Data — การจัดสัมมนา SIPA Technology Meetup 2016 : The Power of Collaboration เป็นการจัดงาน SIPA...