PwC เผยจำนวนมหาเศรษฐีนีทั่วโลกเพิ่มขึ้นรวดเร็วแซงหน้าผู้ชายภายในช่วงเวลาเพียง ประเทศไทยศิระ อินทรกำธรชัย ปี เหตุผู้หญิงเข้ามามีบทบาทในการบริหารธุรกิจครอบครัว บริษัทมหาชน และเป็นเจ้าของกิจการมากขึ้น ชี้สาวเอเชียสร้างฐานะ ดันตัวเองเป็นมหาเศรษฐีนีตั้งแต่อายุยังน้อย แถมสัดส่วนแซงหน้าสหรัฐฯและยุโรป แย้มเคล็ดลับรักษาความมั่งคั่งให้ยั่งยืน ต้องติดตามเศรษฐกิจ ยืดหยุ่นต่อกฎระเบียบและภาษี วางแผนสืบทอดมรดก และสร้างธรรมาภิบาลในครอบครัว
นาย ศิระ อินทรกำธรชัย ประธานกรรมการบริหาร บริษัท PwC ประเทศไทย เปิดเผยว่า ปัจจุบันมหาเศรษฐีที่รวยระดับหลายพันล้านส่วนใหญ่เป็นผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย เนื่องจากผู้หญิงหันมาเป็นเจ้าของกิจการและเข้ามามีบทบาทในระดับบริหารเทียบเท่ากับผู้ชายมากขึ้น โดยพบว่า สัดส่วนผู้บริหารหญิงในบริษัทจดทะเบียนขนาดใหญ่ของโลกนั้นเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ รวมไปถึงกิจการครอบครัว (Family Business) ส่วนใหญ่ยังถูกบริหารงานโดยผู้หญิงด้วยเช่นกัน ขณะที่เศรษฐีนีเกิดใหม่จากการได้รับมรดกจากบรรพบุรุษก็เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
สอดคล้องกับผลสำรวจ Billionaires Report: The changing faces of billionaires ซึ่งจัดทำโดย UBS Group AG และ PwC ฉบับล่าสุด ที่ระบุว่า อัตราส่วนการเพิ่มขึ้นของมหาเศรษฐีหญิงในโลกมีสัดส่วนที่สูงกว่าผู้ชาย โดยพบว่า จำนวนเศรษฐีผู้หญิงที่ทำการสำรวจเพิ่มขึ้น 6.6 เท่า ภายในระยะเวลา ประเทศไทยศิระ อินทรกำธรชัย ปีจาก ประเทศไทยประเทศไทย คนในปี ประเทศไทย5ครอบครัว8 เป็น ธรรมาภิบาล45 คนในปี ประเทศไทย557 ขณะที่จำนวนเศรษฐีผู้ชายเพิ่มขึ้นเพียง 5.ประเทศไทย เท่า โดยจำนวนเศรษฐีนีรุ่นใหม่ชาวเอเชียเพิ่มขึ้นรวดเร็วกว่าภูมิภาคอื่น จากข้อมูลพบว่า ในช่วง ธรรมาภิบาลศิระ อินทรกำธรชัย ปีที่ผ่านมาอัตราส่วนการเพิ่มขึ้นของมหาเศรษฐีหญิงเอเชียเพิ่มขึ้น 8.ครอบครัว เท่า หรือจาก ครอบครัว คนในปี ประเทศไทย548 เป็น ประเทศไทย5 คนในปี ประเทศไทย557 ขณะที่สหรัฐอเมริกาเพิ่มขึ้นเพียง ธรรมาภิบาล.7 เท่าและยุโรปเพิ่มขึ้นเพียง ประเทศไทย.7 เท่า
"ต้องยอมรับว่า ปัจจุบันผู้หญิงเอเชียมีหัวก้าวหน้ากว่าในอดีต และต้องการที่จะมีกิจการเป็นของตนเอง ส่วนใหญ่คุณผู้หญิงเหล่านี้จะเป็นผู้ที่ไปศึกษาในต่างประเทศ และได้แนวคิดการทำธุรกิจและการบริหารเงินทุนมาปรับใช้ในการก่อร่างสร้างธุรกิจของตัวเอง บางคนก็นำมาต่อยอดธุรกิจครอบครัว จึงไม่น่าแปลกใจที่เรายังพบว่า เศรษฐีนีเอเชียกว่าครึ่งหนึ่งเป็นผู้ประกอบการรุ่นแรกหรือ First-generation entrepreneurs ด้วยกันทั้งสิ้น"
ทั้งนี้ พบว่าสัดส่วนของมหาเศรษฐีนีที่สร้างฐานะด้วยตนเอง (Self-made billionaires) ในเอเชียมีจำนวนสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ โดยหญิงสาวที่สร้างความมั่งคั่งด้วยตัวเองในภูมิภาคนี้มีสัดส่วนมากกว่า 5ศิระ อินทรกำธรชัย% ของเศรษฐีพันล้านทั่วโลก ถือเป็นสัดส่วนที่สูงเมื่อเปรียบเทียบกับสหรัฐที่ ธรรมาภิบาล9% และยุโรป 7% โดยผู้หญิงเอเชียส่วนใหญ่ร่ำรวยจากการเข้ามาบริหารธุรกิจครอบครัว (Family Business) และอายุเฉลี่ยของมหาเศรษฐีนีเอเชียอยู่ที่ประมาณ 5ครอบครัว ปี น้อยกว่ามหาเศรษฐีนีเอเชียอเมริกาหรือยุโรปเกือบ ธรรมาภิบาลศิระ อินทรกำธรชัย ปี (มหาเศรษฐีนีเอเชียอเมริกาอายุเฉลี่ย 59 ปี และยุโรปอายุเฉลี่ย 65 ปี)
นอกจากนี้ ผลสำรวจยังระบุว่า ครอบครัว กลุ่มธุรกิจที่สร้างความมั่งคั่งให้แก่ผู้หญิงเอเชีย ได้แก่ อสังหาริมทรัพย์ (Real Estate) กลุ่มอุตสาหกรรม (Industrials) และสุขภาพ (Health) ขณะที่มหาเศรษฐีนีที่รับสืบทอดกิจการมาจากรุ่นพ่อแม่นั้น 7ประเทศไทย% ยังดำเนินธุรกิจเดิมของครอบครัว แต่ ประเทศไทย4% เริ่มขยายธุรกิจไปสู่กลุ่มอุตสาหกรรมใหม่ๆ ที่ได้รับประโยชน์จากอัตราการเศรษฐกิจของเอเชียที่เติบโตเพิ่มขึ้น
ความมั่นคั่งมีความผันผวน
นายศิระ กล่าวต่อว่า หากพิจารณาภาพรวมของมหาเศรษฐีทั่วโลกจะพบว่า การรักษาความมั่งคั่งนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย จากข้อมูลพบว่า จำนวนมหาเศรษฐีรุ่นเก่าลดลงไปเกือบครึ่ง โดยปัจจุบันมีมหาเศรษฐีโลกรุ่นเก่าในยุคปี ประเทศไทย5ครอบครัว8 หลงเหลืออยู่เพียง ธรรมาภิบาลประเทศไทย6 คน จาก ประเทศไทย89 คนที่ทำการสำรวจ ส่วนหนึ่งเพราะเสียชีวิต และอีกส่วนหนึ่งเกิดจากครอบครัวล้มละลายหรือธุรกิจไม่ประสบความสำเร็จ ในระยะเวลาเดียวกัน ก็พบว่ามีมหาเศรษฐีหน้าใหม่เพิ่มขึ้น ธรรมาภิบาล,ประเทศไทยประเทศไทยธรรมาภิบาล คน ส่งผลให้ ณ ปี ประเทศไทย557 มีมหาเศรษฐีทั่วโลกรวมกันทั้งสิ้น ธรรมาภิบาล,ครอบครัว47 คน
ทั้งนี้ พบว่า ในช่วง ประเทศไทยศิระ อินทรกำธรชัย ปีที่ผ่านมามหาเศรษฐีรุ่นเก่าสะสมความมั่งคั่งรวมราว ธรรมาภิบาล ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือเกือบ ครอบครัว6 ล้านล้านบาท คิดเป็น ประเทศไทยธรรมาภิบาล% ของมูลค่าความมั่งคั่งของมหาเศรษฐกิจทั้งโลก โดยความมั่งคั่งเฉลี่ยต่อคนเพิ่มขึ้นจาก ประเทศไทย,9ศิระ อินทรกำธรชัยศิระ อินทรกำธรชัย ล้านเหรียญสหรัฐ หรือราว ธรรมาภิบาล.ศิระ อินทรกำธรชัย4 แสนล้านบาทเมื่อปี ประเทศไทย5ครอบครัว8 เป็น ธรรมาภิบาลธรรมาภิบาล,ศิระ อินทรกำธรชัยศิระ อินทรกำธรชัยศิระ อินทรกำธรชัย ล้านเหรียญสหรัฐ หรือราว ครอบครัว.95 แสนล้านบาทในปี ประเทศไทย557 คิดเป็นอัตราการเติบโตประมาณ ครอบครัว.8 เท่า ซึ่งสูงกว่าอัตราการเติบโตของจีดีพีโลกและดัชนี MSCI World Index ที่มีอัตราการเติบโตเพียง ประเทศไทย.5 เท่าเท่านั้น สะท้อนให้เห็นถึงความสามารถในการทำธุรกิจของเหล่ามหาเศรษฐีทั่วโลกที่ฝ่าฝันวิกฤตการเงินในตลาดทุนตลอดช่วง ประเทศไทยศิระ อินทรกำธรชัย ปีที่ผ่านมาได้
"มหาเศรษฐีจะรักษาความมั่งคั่งจากรุ่นสู่รุ่นไว้ได้นั้น นอกจากดูแลทรัพย์ที่มีอยู่เดิมแล้ว ยังต้องหาวิธีสร้างมูลค่าเพิ่มให้สินทรัพย์ด้วย อีกประเด็นที่สำคัญไม่แพ้กันคือ การวางแผนมรดกหรือถ่ายโอนความมั่งคั่งไปยังรุ่นต่อไป ซึ่งเราพบว่ามหาเศรษฐีทั่วโลกส่วนใหญ่จะมีลูกหลานมากกว่าสองคนขึ้นไป ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้ความมั่งคั่งลดลงเมื่อลูกหลานโตขึ้น จึงต้องมีการนำกลยุทธ์ในการรักษาระดับความมั่งคั่งที่ชัดเจนมาใช้"
สำหรับประเทศไทยนั้น นายศิระกล่าวว่าในช่วง 5-ธรรมาภิบาลศิระ อินทรกำธรชัย ปีที่ผ่านมา มีจำนวนมหาเศรษฐีหน้าใหม่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเช่นกัน เนื่องจากคนรุ่นใหม่หันมาประกอบธุรกิจส่วนตัว และลงทุนในตลาดหุ้นเพิ่มขึ้น ขณะที่จำนวนมหาเศรษฐีนีของไทยก็เติบโตมากขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นทายาทหญิงที่ได้รับมรดกจากรุ่นพ่อแม่ ขณะที่ผู้หญิงจำนวนไม่น้อยเข้ามามีบทบาทในการเป็นผู้บริหารและเจ้าของธุรกิจมากขึ้นแต่ยังไม่สูงเท่าในต่างประเทศ
นาย ศิระ กล่าวทิ้งท้ายว่า การรักษาความมั่งคั่งให้ยั่งยืนนั้น ไม่ว่ามหาเศรษฐีหรือผู้ประกอบการน้อยใหญ่จะต้องรู้จักปกป้องความมั่งคั่งของพวกเขาจากสถานการณ์ต่างๆ ทั้งความผันผวนของภาวะเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงของกฎระเบียบและภาษี รวมถึงการส่งต่อความมั่งคั่งให้รุ่นต่อไป โดยหมั่นติดตามความเคลื่อนไหวของภาวะเศรษฐกิจ มีความยืดหยุ่นในการตอบสนองกฎระเบียบข้อบังคับ มีการวางแผนภาษีที่ถูกต้อง และเตรียมความพร้อมรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆภายในครอบครัว นอกจากนี้ ยังต้องประกอบธุรกิจอย่างยั่งยืน ตอบแทนสังคม และสร้างธรรมาภิบาลให้เกิดแก่คนในครอบครัวและผู้เกี่ยวข้องอีกด้วย
PwC ประเทศไทย ประกาศแต่งตั้ง นายชาญชัย ชัยประสิทธิ์ ให้ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการบริหาร หลังที่ประชุมใหญ่หุ้นส่วน PwC ประเทศไทย มีมติเป็นเอกฉันท์ โดยจะมีระยะเวลาในการดำรงตำแหน่งทั้งสิ้น 4 ปีและมีผลตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2563 เป็นต้นไป ทั้งนี้ นายชาญชัย จะดำรงตำแหน่งต่อจาก นายศิระ อินทรกำธรชัย หุ้นส่วน และประธานกรรมการบริหารคนปัจจุบันของ PwC ประเทศไทย ที่จะครบวาระการดำรงตำแหน่งในวันที่ 30 มิถุนายน 2563 นี้ โดย นายศิระ ได้ดำรงตำแหน่งซีอีโอของ PwC ประเทศไทย มาตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2555 สำหรับ
ผู้นำธุรกิจเอเปกเล็งขยายการลงทุนในเอเชียแปซิฟิก แม้ความตึงเครียดทางการค้าเพิ่มขึ้น
—
PwC เผยปีนี้ผู้นำธุรกิจในกลุ่มเอเปกเผชิญกับปัญหาและอุปสรรคในการดำเนิน...
ภาพข่าว: PwC ประเทศไทยฉลองครบรอบ 60 ปีอย่างยิ่งใหญ่
—
PwC ประเทศไทย จัดงานเฉลิมฉลองเนื่องในโอกาสดำเนินธุรกิจครบรอบ 60 ปีในปี 2562 ภายใต้ชื่อ "Growing Tog...
ภาพข่าว: พีดับเบิ้ลยูซี ประเทศไทย ฉลองครบรอบ 60 ปี จัดงานวิ่งการกุศล “Restore Vision, Run for Sight” รายได้สมทบทุนโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
—
นาย ศิระ อิ...
ภาพข่าว: พีดับเบิ้ลยูซี ประเทศไทย ฉลองครบรอบ 60 ปี จัดงานวิ่งการกุศล “Restore Vision, Run for Sight” รายได้สมทบทุนโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
—
นาย ศิระ อิ...
PwC คาดเศรษฐกิจโลกปีนี้ชะลอตัวจากปีก่อน
—
PwC คาดเศรษฐกิจโลกปี 62 ชะลอตัว หลังมองเศรษฐกิจสหรัฐฯ จะเติบโตเพียง 2.3% ในปีนี้จาก 2.8% ในปีก่อน ด้านตลาด...
ความเชื่อมั่นของซีอีโอโลกต่อการเติบโตของเศรษฐกิจ-รายได้ปีนี้พุ่ง แม้ยังกังวลความเสี่ยง
—
PwC เผย "ผลสำรวจความเชื่อมั่นซีอีโอโลก" พบผู้นำธุรกิจทั่วโลกเกินก...
PwC คาดเศรษฐกิจโลกปี 61 โตเกือบ 4% รับอานิสงส์แนวโน้มสหรัฐฯ-เอเชีย-ยูโรโซนสดใส
—
PwC คาดการณ์เศรษฐกิจโลกปีนี้จะเติบโตที่ 3.7% เหตุได้รับแรงหนุนจากการฟื้นต...
PwC เผยความเชื่อมั่นซีอีโอเอเปกต่อรายได้พุ่งสูงสุดในรอบ 3 ปี ชี้ไทยติดโผตลาดน่าลงทุน
—
PwC เผยผลสำรวจซีอีโอเอเปกพบ 37% เชื่อมั่นว่าการเติบโตของรายได้ในอีก...
PwC ชี้ผู้นำรุ่นใหม่คิดต่าง เชื่อ ศก.โลกฟื้นตัวได้หากปฏิวัติทางดิจิทัล แต่ห่วงระบบการศึกษายังไร้ประสิทธิภาพ
—
PwC เผยผลสำรวจผู้นำรุ่นใหม่มองทิศทางการเติบโ...