มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง 2 ปี คสช. เปลี่ยนประเทศไทยอย่างไร? :กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ

          รศ.ดร.เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล ประธานชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน (Thai Researchers in Community Happiness Association, TRICHA) เปิดเผยผลวิจัยเชิงสำรวจมาสเตอร์โพลล์(Master Poll) 2 ปี คสช.เปลี่ยนประเทศไทยอย่างไร? :กรณีศึกษาตัวอย่างแกนนำชุมชนทั่วประเทศ จำนวนทั้งสิ้น เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล,ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน8เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล ตัวอย่างจากจังหวัดทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบใช้ความน่าจะเป็นทางสถิติแบบแบ่งกลุ่มเชิงชั้นภูมิหลายขั้น (Stratified Multi-Stage Sampling) จากบัญชีรายชื่อฐานข้อมูลแกนนำชุมชนทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ โดยมีช่วงความคลาดเคลื่อนบวกลบร้อยละ 7 ดำเนินโครงการระหว่างวันที่ 25 มีนาคม - 2 เมษายน 2559 ผลการสำรวจ พบว่า
          เมื่อคณะผู้วิจัยได้สอบถามตัวอย่างแกนนำชุมชนถึงการเปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิตของตนเองและครอบครัวตลอดระยะเวลา 2 ปีที่ผ่านมา พบว่า ตัวอย่างร้อยละ 35.5 ระบุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ร้อยละ 45.8 ระบุดีเหมือนเดิม ในขณะที่ร้อยละ 7.9 ระบุแย่เหมือนเดิม และร้อยละ เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุลชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน.8 ระบุแย่ลง ทั้งนี้คะแนนคุณภาพชีวิตโดยเฉลี่ยเท่ากับ 7.55 คะแนน จากคะแนนเต็ม เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุลชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน คะแนน 
          ประเด็นสำคัญที่น่าสนใจและเป็นวัตถุประสงค์สำคัญของการสำรวจในครั้งนี้ คือการสอบถามความคิดเห็นของตัวอย่างแกนนำชุมชนที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดในการดำเนินชีวิตของคนไทย สังคมไทย และประเทศไทยโดยภาพรวมโดยพบว่าการเปลี่ยนแปลงที่เห็นว่าอยู่ในทิศทางที่ดีขึ้น ในช่วงเวลา 2 ปีที่ผ่านมา สามลำดับแรก ได้แก่ การรักษาความสงบเรียบร้อยของประเทศ/การลดความแตกแยกของคนในประเทศ/ไม่มีการชุมนุม/การสร้างความปรองดอง/ประชาชนไม่มีการแบ่งฝ่าย/ความสามัคคีของคนในประเทศดีขึ้น/ไม่มีการทะเลาะกัน คิดเป็นร้อยละ 45.8 รองลงมาคือ การปราบปรามการทุจริตคอรัปชั่น/ปัญหาทุจริตน้อยลง/ไม่มีการทุจริต คิดเป็นร้อยละ 36.7 ระบบการทำงานของข้าราชการเป็นระบบระเบียบมากขึ้น/การปรับปรุงระบบข้าราชการ/การเปลี่ยนแปลงขององค์กรตำรวจ/การปรับปรุงโครงสร้างภาครัฐ คิดเป็นร้อยละ เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล2.6 ทั้งนี้ตัวอย่างแกนนำชุมชนร้อยละ เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุลชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน.3 ระบุไม่มีอะไรดีขึ้น
          สำหรับการเปลี่ยนแปลงที่เห็นว่าอยู่ในทิศทางที่แย่ลงในช่วงเวลา 2 ปีที่ผ่านมา สามลำดับแรก ได้แก่ ราคาสินค้าทางการเกษตรตกต่ำ คิดเป็นร้อยละ 56.9 คุณธรรมจริยธรรมของคนในสังคมแย่ลง คิดเป็นร้อยละ 44.7 และเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศแย่ลง คิดเป็นร้อยละ 23.2 ตามลำดับ ทั้งนี้ตัวอย่างแกนนำชุมชนร้อยละ 42.7 ระบุไม่มีอะไรที่แย่ลง
          ประเด็นสำคัญที่น่าพิจารณาคือเมื่อสอบถามถึง สิ่งที่อยากจะบอกกับ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี หากมีโอกาสได้พูดคุยเป็นการส่วนตัวนั้น พบว่าตัวอย่างแกนนำชุมชนร้อยละ 7ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน.8 ระบุขอให้นายกฯทำหน้าที่ต่อไปนานๆ/อยากให้ดำรงตำแหน่งต่อเพื่อบ้านเมือง/อยากให้ดูแลประเทศต่อไป/อยากให้บริหารงานนานๆ/ทำตามบทบาทของท่านให้ดีและมีจุดยืนที่ชัดเจนและเด็ดขาด/ ยินดีที่ท่านจะอยู่เป็นนายกรัฐมนตรีเพื่อพัฒนาประเทศต่อ/อยากให้นายกฯ ทำงานราบรื่น/ให้ท่านตั้งใจทำงาน/อยากให้ท่านนายกฯ เดินหน้าพัฒนาประเทศให้เต็มที่/อย่าท้อให้สู้ไปเรื่อยๆ รองลงมาคือร้อยละ 43.8 ระบุว่า อยากให้หางานหารายได้ให้กับเกษตรกร/การประกอบอาชีพของประชาชน/อยากให้แก้ไขปัญหาการว่างงานของประชาชนเพราะแรงงานต่างด้าวเข้ามาในประเทศมากขึ้นทุกที/แก้ไขปัญหาที่ดินทำกิน/แก้ไขปัญหาที่ดินที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์/อยากให้ท่านรับรู้ปัญหาของเกษตรกร/อยากให้ท่านช่วยด้านเกษตรกรให้ทั่วถึง/หาอาชีพเสริมให้กับเกษตรกร/การพัฒนาด้านอาชีพ ร้อยละ เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล3.2 ระบุปัญหาสินค้าเกษตรราคาแพงขึ้น/เรื่องราคาพืชผลทางการเกษตร/อยากให้แก้ไขปัญหาผลผลิตทางการเกษตร/อยากให้เพิ่มราคาผลผลิตทางการเกษตร/ชดเชยเรื่องผลผลิตที่เสียหาย นอกจากนี้ ร้อยละ เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุลเชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล.5 ระบุอยากให้พัฒนาปัญหาแหล่งน้ำเร็วๆ/แก้ปัญหาภัยแล้ง/แก้ปัญหาแหล่งน้ำทำการเกษตร/อยากให้ท่านช่วยเหลือเรื่องแหล่งน้ำ/อยากให้แก้ไขเรื่องอ่างเก็บน้ำเพื่อบรรเทาภัยแล้ง ร้อยละ 9.3 ระบุ อยากให้เร่งแก้ไขปัญหาความรุนแรงในสามจังหวัดชายแดนใต้โดยเร็ว ตามลำดับ 
          ประเด็นสำคัญสุดท้ายคือเมื่อคณะผู้วิจัยได้สอบถามถึงประเด็นสำคัญที่อยากให้นายกรัฐมนตรี รัฐบาล และ คสช. ได้เร่งชี้แจงเพื่อทำความเข้าใจกับประชาชน นั้นผลการสำรวจพบว่า ตัวอย่างแกนนำชุมชนร้อยละ 4ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน.4 ระบุเร่งชี้แจงเรื่องรัฐธรรมนูญให้แก่ประชาชน/ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ส่วนใหญ่ประชาชนยังไม่เข้าใจ ร้อยละ 32.7 ระบุชี้แจงเรื่องการแก้ไขปัญหาภัยแล้งว่าทำไมล่าช้า/เรื่องน้ำในการทำการเกษตร/แจกแจงเรื่องการหาแหล่งน้ำ/เรื่องน้ำในการทำการเกษตร ต้องเร่งอธิบายให้ประชาชนเข้าใจ ร้อยละ 2ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน.9 ระบุชี้แจงเกี่ยวกับนโยบายต่างๆให้รับทราบมากขึ้น/นโยบายการบริหารประเทศ/เรื่องการบริหารประเทศ ร้อยละ เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุลชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน.7 ระบุชี้แจงเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาราคาผลผลิตทางการเกษตร และ การจัดการเกษตรทั้งระบบให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ในสัดส่วนที่เท่ากัน นอกจากนี้ ร้อยละ 9.ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน ระบุสร้างความเข้าใจให้ประชาชนเห็นภาพเกี่ยวกับแนวทางประชารัฐ ร้อยละ 6.7 ระบุชี้แจงเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ/ชี้แจงภาพรวมของเศรษฐกิจที่ตกต่ำลง ตามลำดับ 

          คุณลักษณะทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
          ตัวอย่างแกนนำชุมชนร้อยละ 86.7 เป็นเพศชาย ในขณะที่ร้อยละ เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล3.3 เป็นเพศหญิง ร้อยละ 6.8 มีอายุต่ำกว่า 4ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน ปี ร้อยละ 29.4 ระบุอายุ 4ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน-49 ปีและร้อยละ 63.8 ระบุอายุตั้งแต่ 5ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน ปีขึ้นไปทั้งนี้เมื่อพิจารณาจำแนกตามระดับการศึกษาที่สำเร็จมาชั้นสูงสุดพบว่า ร้อยละ 29.7 สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น/ต่ำกว่า ร้อยละ 47.2 สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ป.ว.ช. ร้อยละ 5.3 ระบุสำเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญา/ป.ว.ส. และร้อยละ เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล7.8 สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ตามลำดับ 
          ตัวอย่างแกนนำชุมชนร้อยละ 68.5 มีอาชีพประจำคือเกษตรกร/รับจ้างทั่วไป ร้อยละ เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล6.4 ระบุประกอบธุรกิจส่วนตัว/ค้าขาย ในขณะที่ร้อยละเชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล5.เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล ระบุมีอาชีพอื่นๆ อาทิ รับจ้าง ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ และไม่ได้ประกอบอาชีพใดๆ ทั้งนี้เมื่อพิจารณารายได้ต่อเดือนของครอบครัว พบว่า ตัวอย่างแกนนำชุมชนร้อยละ เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุลชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน.ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน ระบุมีรายได้ครอบครัวไม่เกิน เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุลชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน,ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชนชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชนชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน บาทต่อเดือน ร้อยละ เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล7.3 ระบุมีรายได้ครอบครัว เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุลชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน,ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชนชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชนเชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล–เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล5,ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชนชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชนชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน บาทต่อเดือนร้อยละ 22.7 ระบุมีรายได้ เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล5,ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชนชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชนเชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล-2ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน,ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชนชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชนชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน บาทต่อเดือน ในขณะที่ตัวอย่างแกนนำชุมชนร้อยละ 5ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน.ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน ระบุมีรายได้ครอบครัวมากกว่า 2ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน,ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชนชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชนชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน บาทต่อเดือน ตามลำดับ
          ทั้งนี้เมื่อพิจารณาจำแนกตามรายภูมิภาคพบว่าตัวอย่างแกนนำชุมชนร้อยละ 33.ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน อยู่ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รองลงมาคือร้อยละ 25.ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน ระบุอยู่ในพื้นที่ภาคกลาง ร้อยละ เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล9.ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน ระบุอยู่ในพื้นที่ภาคเหนือ ร้อยละ เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล4.เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล ระบุอยู่ในพื้นที่ภาคใต้ ในขณะที่ร้อยละ 8.9 ระบุอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตามลำดับ
 
          ชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน โทรศัพท์ 086 – 971-7890 หรือ 02-540-1298
          ติดตามผลสำรวจของมาสเตอร์โพลล์ได้ที่ www.masterpoll.net

ข่าวชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน+นักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชนวันนี้

มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง โครงการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐกับความสำเร็จในการบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชน

รศ.ดร.เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล ประธานชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน (Thai Researchers in Community Happiness Association, TRICHA) เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจมาสเตอร์โพลล์(Master Poll) เรื่อง โครงการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐกับความสำเร็จในการบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชน จำนวนทั้งสิ้น 1,101 ชุมชน จาก 26 จังหวัดทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ ประกอบด้วย กรุงเทพมหานคร ปทุมธานี กาญจนบุรี ลพบุรี อ่างทอง ปราจีนบุรี ระยอง ตราด นครราชสีมา ชัยภูมิ สุรินทร์ ศรีสะเกษ มุกดาหาร กาฬสินธุ์ สกลนคร เลย หนองคาย เชียงใหม่ พะ

มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง มาตรา 44 กับกระบวนการทำอาร์ไอเอ (RIA)

แกนนำชุมชน หนุนรัฐทำประเมินผลกระทบการออกกฎหมายตาม ม.44 โดยเฉพาะกระทรวงมหาดไทย เพื่อสร้างการยอมรับและลดความขัดแย้ง รศ.ดร.เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล ประธานชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน (Thai Researchers in...

มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง คนไทยเข้าใจรัฐธรรมนูญแล้วหรือยัง

มาสเตอร์โพลล์ เผยแกนนำชุมชนส่วนใหญ่มีความเข้าใจและยอมรับทุกประเด็นร่างรัฐธรรมนูญเพิ่มมากขึ้น และเชื่อว่าการเคลื่อนไหวของกลุ่มการเมืองเก่าไม่ส่งผลกระทบต่อการลงประชามติ รศ.ดร.เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล ประธานชมรมนักวิจัย...

มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง คนไทยเข้าใจรัฐธรรมนูญแล้วหรือยัง

มาสเตอร์โพลล์ เผยแกนนำชุมชนส่วนใหญ่มีความเข้าใจและยอมรับทุกประเด็นร่างรัฐธรรมนูญเพิ่มมากขึ้น และเชื่อว่าการเคลื่อนไหวของกลุ่มการเมืองเก่าไม่ส่งผลกระทบต่อการลงประชามติ รศ.ดร.เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล ประธานชมรมนักวิจัย...

มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง รัฐกับการจัดการน้ำอย่างยั่งยืน

รศ.ดร.เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล ประธานชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน (Thai Researchers in Community Happiness Association, TRICHA) เปิดเผยผลวิจัยเชิงสำรวจมาสเตอร์โพลล์(Master Poll) เรื่อง...

มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง รัฐกับนโยบายจัดการศึกษาเรียนฟรี 15 ปี

รศ.ดร.เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล ประธานชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน (Thai Researchers in Community Happiness Association, TRICHA) เปิดเผยผลวิจัยเชิงสำรวจมาสเตอร์โพลล์(Master Poll) เรื่อง รัฐกับน...

มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง สถานการณ์ยาเสพติดกับมุมมองต่อปัญหาที่เป็นอยู่

"ประชาชนร้อยละ 80 ไม่เห็นด้วยต่อแนวคิดยกเลิกเมทแอมเฟตามีน หรือ ยาบ้า ออกจากบัญชียาเสพติดประเภทที่ 1 และมองว่าข้อเสนอให้แพทย์สั่งยาได้จะเกิดผลเสียมากกว่าผลดี" รศ.ดร.เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล...

มาสเตอร์โพลล์ (Master Poll) เสนอผลวิจัยเชิงสำรวจ เรื่อง บริษัทประชารัฐเป็นอย่างไรในใจประชาชน

รศ.ดร.เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล ประธานชมรมนักวิจัยไทยเพื่อความสุขชุมชน (Thai Researchers in Community Happiness Association, TRICHA) เปิดเผยผลวิจัยเชิงสำรวจมาสเตอร์โพลล์(Master Poll) เรื่อง บริษัทประชารัฐเป็นอย่าง...