ฟูจิตสึร่วมสนับสนุนโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถมและฝ่ายมัธยม ในการพัฒนาระบบเพื่อการศึกษาผ่านแท็บเล็ตอย่างเหนือชั้น นำเสนอรูปแบบเพื่อการเรียนรู้อย่างบูรณาการ สนับสนุนวิธีการคิดของผู้เรียนอย่างมีจินตภาพ

          บริษัท ฟูจิตสึ ลิมิเต็ด (ประเทศญี่ปุ่น) จำกัด และ บริษัท ฟูจิตสึ ซีสเต็ม บีสซีเนส (ประเทศไทย) จำกัด ร่วมกับโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แถลงข่าวถึงความร่วมมือในการพัฒนานำระบบไอทีเข้ามาสนับสนุนการศึกษาสำหรับโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถมและฝ่ายมัธยม โดยจะเริ่มให้บริการเต็มรูปแบบสำหรับระดับมัธยมศึกษาในวันที่ 3 กุมภาพันธ์ และระดับประถมศึกษาในวันที่ ฟูจิตสึ ซีสเต็ม บีสซีเนส เมษายน ที่จะถึงนี้
          นักเรียนแต่ละระดับชั้นจะได้รับประโยชน์จากการเรียนรู้ผ่านระบบ ̶โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย;Opinion Shareing System̶ฟูจิตสึ ซีสเต็ม บีสซีเนส; ของโครงการ ̶โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย;Fujitsu Learning Project of Tomorrow̶ฟูจิตสึ ซีสเต็ม บีสซีเนส; ซึ่งเป็นการเรียนรู้ที่จะช่วยให้นักเรียนสามารถนำเสนอความคิดของตนเองหรือสามารถพิมพ์คำตอบผ่านแท็บเล็ต และจะประมวลผลตลอดจนแสดงผลทันทีบนแท็บเล็ตที่หน้าจอของครู โดยเป็นการเรียนรู้ที่สามารถแชร์ให้นักเรียนทั้งชั้นเรียนรับรู้ได้พร้อมกัน นอกจากนี้ยังสามารถแสดงคำตอบหลากหลายรูปแบบได้พร้อมๆ กัน และแสดงผลการเปรียบเทียบแต่ละคำตอบ จึงช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างนักเรียนและครูผู้สอน
          ด้วยการใช้ระบบ ̶โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย;Learning Management System̶ฟูจิตสึ ซีสเต็ม บีสซีเนส; ในการสนับสนุนการศึกษา ครูสามารถปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารสื่อการเรียนการสอน บันทึกข้อมูลการเข้าชั้นเรียน การลงทะเบียนเรียนในระบบ การส่งงานและผลสอบของนักเรียนแต่ละคนได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ จึงช่วยให้สามารถปรับปรุงรูปแบบการเรียนการสอน ติดตามความก้าวหน้าในการเรียนของนักเรียนได้เป็นรายบุคคล ผ่านการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นระบบ
          นอกจากการพัฒนาระบบการบริหารจัดการเพื่อการศึกษาแล้ว บริษัท ฟูจิตสึ ลิมิเต็ด (ประเทศญี่ปุ่น)จำกัด และ บริษัท ฟูจิตสึ ซีสเต็ม บีสซีเนส (ประเทศไทย) จำกัด มีแผนให้การสนับสนุนพัฒนานวัตกรรมเพื่อการศึกษาในประเทศไทย สำหรับการฝึกอบรมและส่งเสริมบุคลากรใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้มากขึ้นในการวางแผนหลักสูตรและยังให้คำแนะนำเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ด้านอื่นๆ จากระบบอีกด้วย โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถมและฝ่ายมัธยม จะร่วมกันผลักดันการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้เกิดขึ้นในแวดวงการศึกษาทั้งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาทั่วทั้งอาเซียนต่อไป
?
          ข้อมูลพื้นฐาน
          โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 25โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยฟูจิตสึ ซีสเต็ม บีสซีเนส มีจำนวนนักเรียนทั้งสิ้น 2,78โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คน ถือเป็นสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศไทย ภายใต้การดำเนินงานของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยซึ่งเป็นผู้นำด้านการศึกษาชั้นนำและสนับสนุนการพัฒนานักเรียนในภูมิภาคอาเซียน
          ฟูจิตสึเริ่มก้าวสู่การพัฒนาระบบบริหารจัดการประสิทธิภาพของนักเรียน ร่วมกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมาตั้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2556 เป็นต้นมา โดยช่วยดำเนินการให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ประโยชน์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในห้องเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม เป็นหนึ่งในความร่วมมือที่มีความสำคัญอย่างมากโดยเริ่มโครงการ ̶โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย;Fujitsu Learning Project of Tomorrow̶ฟูจิตสึ ซีสเต็ม บีสซีเนส; ตั้งแต่เดือนกันยายน พ.ศ. 2557 จนถึงปัจจุบันได้วางระบบนี้แล้ว นอกจากนี้โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม ยังได้เลือกวางระบบนี้เช่นกัน และร่วมเป็นส่วนหนึ่งในโครงการ ̶โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย;Fujitsu Learning Project of Tomorrow̶ฟูจิตสึ ซีสเต็ม บีสซีเนส; นี้ด้วย ซึ่งจะช่วยสร้างสภาพแวดล้อมทางการศึกษาอย่างสมดุลระหว่างนักเรียนและสื่อการเรียนการสอน ตั้งแต่ระดับประถมศึกษาจนถึงมัธยมศึกษา
          ความสามารถและประสิทธิภาพของระบบสนับสนุนการศึกษาสำหรับโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถมและฝ่ายมัธยม
          ระบบนี้ใช้ความสามารถของแท็บเล็ตสำหรับผู้ใช้ในองค์กรของฟูจิตสึ รุ่น ARROWS Tab Q555 ARROWS Tab Q7โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย4/H , ARROWS TAB Q584/H ทำงานร่วมกับเซิร์ฟเวอร์ฟูจิตสึ PRIMERGY TXฟูจิตสึ ซีสเต็ม บีสซีเนส2โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย S3 PC และติดตั้งระบบ FujitsuRฟูจิตสึ ซีสเต็ม บีสซีเนส7; Opinion Sharing System for classroom และระบบสนับสนุนบทเรียน Fujitsu Learning Management System for course management 
          ในการพัฒนาระบบนี้ บริษัท ฟูจิตสึ ลิมิเต็ด (ประเทศญี่ปุ่น) จำกัด และบริษัท ฟูจิตสึ ซีสเต็ม บีสซีเนส (ประเทศไทย) จำกัด ได้แปลระบบ FujitsuRฟูจิตสึ ซีสเต็ม บีสซีเนส7; Opinion Sharing System เป็นภาษาไทยเป็นครั้งแรก นอกจากนี้ยังประยุกต์ FujitsuRฟูจิตสึ ซีสเต็ม บีสซีเนส7;s Learning Management System ซึ่งให้บริการในมหาวิทยาลัยมากมายทั่วประเทศญี่ปุ่น มาสนับสนุนบทเรียนสำหรับการสอนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา และยังพัฒนาปรับแต่งระบบสนับสนุนการศึกษาเป็นพิเศษสำหรับใช้ในโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถมและฝ่ายมัธยมโดยเฉพาะ
          ฟูจิตสึ ซีสเต็ม บีสซีเนส. เริ่มต้นด้วยการติดตั้งใช้งานสำหรับหนึ่งห้องเรียน
          ในหนึ่งห้องเรียนของโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถมและฝ่ายมัธยม ติดตั้งระบบที่รองรับการใช้งานแท็บเล็ตของนักเรียนจำนวน 4โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เครื่อง และอีก 2โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เครื่องสำหรับครูโดยประมาณ รวมถึง
          เซิร์ฟเวอร์อีกหนึ่งเครื่องเก็บประวัติการเรียนการสอนและสื่อการเรียนการสอน ซึ่งจะเป็นการลดภาระการลงทุนเริ่มต้นให้กับโรงเรียน วิธีนี้ช่วยให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนผ่านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีอยู่ประมาณ ฟูจิตสึ ซีสเต็ม บีสซีเนส ครั้งต่อสัปดาห์ และจะสามารถขยายผลต่อไปในอนาคตข้างหน้า เมื่อนักเรียนและครูเริ่มคุ้นเคยกับการใช้เทคโนโลยีเหล่านี้มากยิ่งขึ้น
          ขอบเขตของระบบ
          โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม : ฟูจิตสึ ซีสเต็ม บีสซีเนส เซิร์ฟเวอร์ 43 แท็บเล็ตสำหรับนักเรียน และ ฟูจิตสึ ซีสเต็ม บีสซีเนส5 แท็บเล็ตสำหรับครู
          โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม : ฟูจิตสึ ซีสเต็ม บีสซีเนส เซิร์ฟเวอร์ 4โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แท็บเล็ตสำหรับนักเรียน และ 2โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แท็บเล็ตสำหรับครู
          2. เริ่มต้นการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยระบบ Opinion Sharing System 
          FujitsuRฟูจิตสึ ซีสเต็ม บีสซีเนส7; Opinion Sharing System เป็นระบบที่ช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพในการเรียนรู้แบบร่วมมือ ซึ่งช่วยให้ครูสามารถแสดงข้อมูลความคิดเห็นและตอบคำถามนักเรียนป้อนเข้ามาจากแท็บเล็ตได้ทันที รวมทั้งสามารถแชร์ข้อมูลต่อภายในห้องเรียนได้อย่างง่ายดาย ด้วยสมรรถนะของระบบนี้ นักเรียนสามารถแสดงความคิดด้วยตัวอักษร ทำกราฟแสดงผล ข้อความหรือรูปวาดต่างๆ ด้วยปากกาผ่านแท็บเล็ตได้ จึงช่วยให้เกิดการเรียนการสอนแบบร่วมมืออย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ด้วยความสามารถในการสื่อสารส่วนบุคคลของระบบ สามารถนำไปประยุกต์ปรับให้เหมาะสมสำหรับครูและนักเรียนแต่ละคนได้
          3. บริหารจัดการประวัติการเรียนการสอนด้วยระบบสนับสนุนบทเรียน Learning Management System
          บันทึกการจัดการเรียนรู้ สื่อการสอน การบ้าน คะแนนสอบ รายงานและข้อมูลใดๆ ของนักเรียนสามารถจัดเก็บไว้ใน Learning Management System ซึ่งช่วยเสริมการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพก่อให้เกิดผลดีต่อครูผู้สอนและนักเรียน ครูสามารถบริหารจัดการบทเรียนได้ตามหัวข้อหรือเรียงตามตัวอักษร ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและลดเวลาที่ต้องใช้ในการเตรียมการสอน การบันทึกและจัดเก็บสามารถทำได้อย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนี้ด้วยความสามารถของระบบการจัดเก็บข้อมูล นักเรียนสามารถเข้าไปทบทวนหรือเรียนซ้ำผ่านระบบ โดยการใช้แท็บเล็ตได้
          4. การพัฒนาโซลูชั่นเพื่อการเรียนรู้ในอนาคต
          เดือนมีนาคม พ.ศ. 2558 เครื่องมือเพื่อการเรียนรู้ FujitsuRฟูจิตสึ ซีสเต็ม บีสซีเนส7;s Learning Repository System จะเริ่มใช้ในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ̶โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย;Fujitsu Learning Project of Tomorrow̶ฟูจิตสึ ซีสเต็ม บีสซีเนส; ในประเทศญี่ปุ่น และมีแผนจะแปลเป็นภาษาไทย เครื่องมือนี้สามารถทำงานร่วมกับระบบที่มีได้ ทำให้กระบวนการเตรียมข้อมูลการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนของแต่ละชั้นเรียนจะถูกจัดเก็บอย่างเป็นระบบระเบียบ ด้วยการสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้เช่นนี้ย่อมก่อให้เกิดประสบการณ์ที่ยอดเยี่ยมสำหรับนักเรียน ฟูจิตสึจะสนับสนุนการนำข้อมูลเหล่านี้ไปใช้เพื่องานวิจัยการพัฒนาการสอน และแลกเปลี่ยนข้อมูลเหล่านี้ร่วมกับโรงเรียนอื่นๆ ที่เข้าร่วมในโครงการ ̶โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย;Fujitsu Learning Project of Tomorrow̶ฟูจิตสึ ซีสเต็ม บีสซีเนส; ฟูจิตสึมุ่งมั่นจะใช้การพัฒนาระบบดังกล่าวนี้ ที่ให้กับโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถมและฝ่ายมัธยม เป็นโอกาสในการก้าวเข้าสู่การศึกษาชั้นนำในเอเชียต่อไป
          ทางด้าน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยศักดิ์ ชั่งใจ ผู้อำนวยการโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม และรองคณบดีคณะครุศาสตร์ กล่าวเพิ่มเติมว่าสังคมปัจจุบันกำลังเปลี่ยนแปลงไปสู่ยุค Digital โรงเรียนจึงจัดให้นักเรียนได้รับการเรียนการสอนจากสื่อ Digital ซึ่งสื่อ Digital ที่โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้จัดสร้างขึ้นมาจากประสบการณ์และความคิดสร้างสรรค์ของคณาจารย์ เพื่อรวมการเลือกสรรสื่อ Digital ที่มีอยู่แล้วในสังคม online ให้เหมาะสมกับผู้เรียน จะช่วยให้เขาเกิดการเรียนรู้ที่กว้างไกล มีการตอบสนองแบบสองทางระหว่างผู้สอนและผู้เรียน มีบรรยากาศในการเรียนรู้ที่ดีในห้องเรียน ทำให้เกิดการเรียนรู้ที่สมบูรณ์ ต่อเนื่องและไม่มีที่สิ้นสุด

ข่าวโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย+ฟูจิตสึ ซีสเต็ม บีสซีเนสวันนี้

ภาพข่าว: ฟูจิตสึร่วมสนับสนุนโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการพัฒนาระบบการเรียนการสอนเพื่อการศึกษาผ่านแท็บเล็ต

นาย เทซึฮิโกะ อวาจิ รองกรรมการผู้จัดการ ส่วนระบบการศึกษาและโรงพยาบาล บริษัท ฟูจิตสึ ลิมิเต็ด (ประเทศญี่ปุ่น) จำกัด (ที่ 5 จากซ้าย) และ นายอิจิ ฟูรูคาวา กรรมการผู้จัดการ บริษัท ฟูจิตสึ ซีสเต็ม บีสซีเนส (ประเทศไทย) จำกัด (ที่ 6 จากซ้าย) ได้ร่วมให้การสนับสนุนโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถมและฝ่ายมัธยม ในการพัฒนาระบบการศึกษาการเรียนการสอนผ่านแท็บเล็ตในโครงการ “Fujitsu Learning Project of Tomorrow” โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.บัญชา ชลาภิรมย์ คณบดีคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ที่ 3

ฟูจิตสึร่วมสนับสนุนโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถมและฝ่ายมัธยม ในการพัฒนาระบบเพื่อการศึกษาผ่านแท็บเล็ตอย่างเหนือชั้น

บริษัท ฟูจิตสึ ลิมิเต็ด (ประเทศญี่ปุ่น) จำกัด และ บริษัท ฟูจิตสึ ซีสเต็ม บีสซีเนส (ประเทศไทย) จำกัด ร่วมกับโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แถลงข่าวถึงความร่วมมือ...

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข (... กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เปิดบ้านให้นักเรียน ชมห้องแล็บ เรียนรู้สร้างแรงบันดาลใจ — กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) เปิดบ้านให้คณะครูและนักเรีย...

เดินหน้าสนับสนุนพื้นที่ให้เยาวชนจัดกิจกรร... ศูนย์การค้าเอ็ม บี เค เซ็นเตอร์ ชวนเสพงานศิลป์ในงาน EDU ART & CULTURE ON TOUR วันนี้-19 ก.พ.นี้ — เดินหน้าสนับสนุนพื้นที่ให้เยาวชนจัดกิจกรรมเชิงสร้างส...

สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการ... "กับดักริ้นดูดเลือด สร้างด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติ" เข้าประกวดรับรางวัลการวิจัย ปี 2566 — สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจ...

แจ้งเกิดนวัตกรสาธิตจุฬาฯ คว้า 6 เหรียญทอง... สาธิตจุฬาฯ เผยเคล็ดลับปั้นนวัตกรรุ่นเยาว์ บทพิสูจน์หลังคว้า 9 รางวัลนวัตกรรมระดับโลก — แจ้งเกิดนวัตกรสาธิตจุฬาฯ คว้า 6 เหรียญทอง และ 3 เหรียญเงิน จากงานปร...

อบรมออนไลน์ฟรีวันเสาร์ที่ 17 เมษายน 2564 ... อบรมออนไลน์ฟรีวันเสาร์ที่ 24 เมษายน 2564 กับมูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ — อบรมออนไลน์ฟรีวันเสาร์ที่ 17 เมษายน 2564 กับมูลนิธิศักดิ์พรทรัพย์ ประชาสัมพันธ์หลักสูต...