สิ่งที่นับว่าเป็น “ภัยคุกคาม” ต่อสุขภาพมากที่สุด ไม่ใช่การมีโรคประจำตัว แต่คือการขาด “การเฝ้าระวัง” ดูแลตัวเองจนต้องกลายเป็นอีกโรคหนึ่งโดยไม่คาดคิด เพราะโรคบางโรคมีความเกี่ยวเนื่องกับอีกโรคด้วยตัวเอง ทางเลือกที่ดีที่สุด คือ การ “ตัดท่อน้ำเลี้ยงแห่งรังโรค” เพื่อหยุดการพัฒนาต่อเนื่องไปสู่อีกโรค รองศาสตราจารย์ ดร.มธุรส ทิพยมงคลกุล รองผู้อำนวยการฝ่ายวิจัยและวิชาการ และอาจารย์ประจำกลุ่มสาขาวิชาพัฒนาสุขภาพ สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดเผยว่า มหาวิทยาลัยมหิดล โดย
Group-IB ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยมหิดล จัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศด้านความมั่นคงทางไซเบอร์ในประเทศไทย
—
กรุ๊ป-ไอบี (Group-IB) ผู้สร้างสรรค์เทคโนโลยีความปลอดภัยไ...
ม.มหิดล เผย 2 อาจารย์ได้รับยกย่องจาก Elsevier ผลงานวิจัยตอบโจทย์SDGs
—
เมื่อเร็วๆ นี้ Elsevier สำนักพิมพ์วารสารวิชาการด้านการแพทย์และวิทยาศาสตร์ระดับโลกแห...
ม.มหิดล ระดมสมองผลักดันนโยบายสูงวัยอย่างมีพลัง
—
38 ปีที่ สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียนมหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับการก่อตั้งเพื่อส่งเสริมและพัฒนางานสาธารณสุข...
ม.มหิดล เผยความคืบหน้าผลักดันระบบชี้วัด ASEAN Rating on Healthy University สู่ประชาคมโลก
—
ประเด็นสุขภาพของประชาชนเป็นเรื่องที่รัฐบาลทุกประเทศให้ความใส่ใจ...
รับสมัครนักศึกษาปริญญาโท
—
สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน เปิดรับสมัครนักศึกษาหลักสูตรการจัดการสาธารณสุขมูลฐานมหาบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) สอบถามรายละเอียด...
อบรมหลักสูตรสถิติขั้นสูงและการวิเคราะห์ข้อมูลในงานวิจัยด้านสุขภาพ
—
สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล ขอเชิญเข้าร่วมอบรมระยะสั้นหลักสูตรสถิติขั้นส...
สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล จะจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ Writing Academic Paper for International Publication
—
ด้วยสถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาว...