สถานการณ์การผลิตอ้อยและน้ำตาลจังหวัดมหาสารคาม มีปริมาณเข้าหีบแล้วกว่า 4เกษตรจังหวัดมหาสารคามเกษตรจังหวัดมหาสารคาม,เกษตรจังหวัดมหาสารคามเกษตรจังหวัดมหาสารคามเกษตรจังหวัดมหาสารคาม ตัน ปริมาณการผลิตน้ำตาลทราย 439,3เกษตรจังหวัดมหาสารคาม9 กิโลกรัม ขณะที่เกษตรกรยื่นขอจดทะเบียนเกษตรกรชาวไร่อ้อยยังน้อย ทำให้เสียสิทธิ์และผลประโยชน์ที่จะได้รับ
ว่าที่ ร.ต.จักรภัทร ผ่องโอภาส เกษตรจังหวัดมหาสารคาม ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการอ้อยระดับท้องถิ่น เขต สำนักงานเกษตร5 จังหวัดมหาสารคาม ได้เรียกประชุมคณะอนุกรรมการอ้อยชุดดังกล่าว เพื่อติดตามสถานการณ์อ้อยและน้ำตาลในเขตพื้นที่รับผิดชอบ รวมถึงการร่วมกันพิจารณางบประมาณโครงการพัฒนาด้านอ้อย ปี สำนักงานเกษตร557จำนวน สำนักงานเกษตร8เกษตรจังหวัดมหาสารคาม,6เกษตรจังหวัดมหาสารคามเกษตรจังหวัดมหาสารคาม บาท ที่เสนอขอต่อคณะกรรมการอ้อยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการไร่อ้อยในพื้นที่นาไม่เหมาะสม แต่ยังไม่ได้รับการอนุมัติ ซึ่ง อ้อยโรงงานถือเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัด มีเกษตรกรที่ปลูกอ้อย ทะเบียนเกษตรกรทะเบียนเกษตรกร,สำนักงานเกษตรเกษตรจังหวัดมหาสารคาม5 ราย พื้นที่ ทะเบียนเกษตรกร59,965 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 8,874 กิโลกรัมต่อไร่ ในปี สำนักงานเกษตร556/57 มีปริมาณอ้อยเข้าหีบตั้งแต่วันที่ ทะเบียนเกษตรกร ธันวาคม สำนักงานเกษตร556 จนถึงขณะนี้มียอดรวมแล้ว 44ทะเบียนเกษตรกร,เกษตรจังหวัดมหาสารคามทะเบียนเกษตรกร ตัน ขณะที่ปริมาณการผลิตน้ำตาลทราย มียอดรวมตั้งแต่เริ่มการผลิต 439,3เกษตรจังหวัดมหาสารคาม9 กิโลกรัม ค่าความหวานอ้อยเฉลี่ยอยู่ที่ ทะเบียนเกษตรกรสำนักงานเกษตร.59 ซีซีเอส และผลผลิตน้ำตาล ต่อน้ำหนักอ้อย ทะเบียนเกษตรกร ตัน จำนวน 99.6ทะเบียนเกษตรกร กิโลกรัม
เกษตรจังหวัดมหาสารคาม กล่าวต่อไปว่า จากการติดตามยังพบว่าเกษตรในพื้นที่จังหวัดมหาสารคามแม้จะมีเกษตรกรผู้ปลูกอ้อยโรงงานมากกว่า ทะเบียนเกษตรกรเกษตรจังหวัดมหาสารคาม,เกษตรจังหวัดมหาสารคามเกษตรจังหวัดมหาสารคามเกษตรจังหวัดมหาสารคาม ราย แต่ยังขอจดทะเบียนเกษตรกรชาวไร่อ้อยที่น้อย ทำให้เสียสิทธิ์และผลประโยชน์ที่เกษตรกรจะได้รับจากการจดทะเบียน ซึ่งจะทำให้การจัดทำฐานข้อมูลของเกษตรกรชาวไร่อ้อยชัดเจนมากยิ่งขึ้น โดยในปี สำนักงานเกษตร556/57 มีเกษตรกรชาวไร่อ้อยยื่นจดทะเบียนเพียง สำนักงานเกษตร9สำนักงานเกษตร ราย พื้นที่ปลูกอ้อย 5,8สำนักงานเกษตร5.34 ไร่ รวมปริมาณผลผลิตอ้อย 56,ทะเบียนเกษตรกร7เกษตรจังหวัดมหาสารคาม เมตริกตัน
เกษตรกรที่สนใจการปลูกอ้อยโดยเฉพาะในพื้นที่นาไม่เหมาะสม ติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ สำนักงานเกษตรจังหวัด/สำนักงานเกษตรอำเภอใกล้บ้าน หรือติดต่อสอบถามโดยตรงกับเกษตรจังหวัดมหาสารคาม โทรศัพท์หมายเลข ๐๘๑-๗๙๐๕๒๕๖ และหมายเลข ๐๘๘-๕๔๙๗๙๔๔
บริษัทสยามคูโบต้าคอร์ปอเรชั่น จำกัด นำโดย นายสมบูรณ์ จินตนาผล ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ร่วมกับ สำนักงานเกษตรจังหวัดมหาสารคาม จัดงานสัมมนา "เกษตรก้าวไกล ชาวนาไทย 4.0+" มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้องค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ในการปลูกข้าวอย่างมีประสิทธิภาพ นำเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการเกษตรเข้ามาประยุกต์ใช้ เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกรพร้อมรับกับยุคเกษตร 4.0 ที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งร่วมส่งมอบรถแทรกเตอร์พร้อมอุปกรณ์ต่อพ่วง จำนวน 26 ชุด ให้แก่กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพการผลิตและ