สกว.เชิญร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการ "ยุทธศาสตร์เพื่อความปลอดภัยบนถนนในระดับจังหวัด"

กรุงเทพฯ--18 ก.ค.--สกว. วันที่ 21 - 22 กรกฎาคม 2546 ณ ห้องประชุม Conference โรงแรมรามาการ์เด้นท์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพมหานคร จัดโดย หน่วยจัดการความรู้เพื่อถนนปลอดภัย คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี (จรป.) และ มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (มสช.) สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) วันจันทร์ที่ 21 กรกฎาคม 2546 08.00 - 08.30 น. ลงทะเบียน และรับเอกสาร 08.30 - 08.40 น. วิดิทัศน์ "ตัวอย่างการส่งเสริมความปลอดภัยภัยบนถนนในระดับจังหวัด" 08.40 - 09.30 น. นโยบายและการสนับสนุนของรัฐบาลและสภานิติบัญญัติต่อการทำงานระดับจังหวัด โดย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม นายนิกร จำนง ประธานคณะกรรมาธิการติดตามการบริหารงบประมาณสภาผู้แทนราษฎร นายพินิจ จันทรสุรินทร์ สมาชิกวุฒิสภา นายดำรง พุฒตาล ประธานคณะกรรมาธิการคมนาคม นายแก้ว บัวสุวรรณ ผู้ดำเนินรายการ รศ.นพ.ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล จัดการหน่วยจัดการความรู้เพื่อถนนปลอดภัย คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 09.30 - 11.00 น. (1) ผลลัพท์จากการประเมินปีใหม่สู่สงกรานต์: นำสู่การพัฒนายุทธศาสตร์จังหวัด" (2) แลกเปลี่ยนและสรุป (45 นาที) นำเสนอโดย รศ.นพ.วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์ และคณะ (45 นาที) ดำเนินรายการโดย นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ เลขาธิการมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ 11.00 - 12.15 น. (1) การจัดกลไกและกระบวนการทำงาน: บทเรียนจาก 13 จังหวัดนำร่อง (2) แลกเปลี่ยนและสรุป (45 นาที) นำเสนอโดย นพ.บวรศม ลีระพันธ์ และคณะ (30 นาที) ดำเนินรายการโดย นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ 12.15 - 12.25 น. แนวการการประชุมกลุ่มย่อยและการนำเสนอเพื่อเรียนรู้ร่วมกัน นำเสนอโดย รศ.นพ.ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล 12.25 - 13.30 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.30 - 14.45 น. สัมมนาวิชาการกลุ่มย่อย: มาตรการส่งเสริมความปลอดภัยบนถนน กลุ่มที่ 1 สยบการจราจร (ห้อง Conference 1) โดย รศ.ดร.พิชัย ธานีรณานนท์ กลุ่มที่ 2 แก้จุดอันตรายบนถนนราคาประหยัด (ห้อง Conference 2) โดย ดร.สมประสงค์ สัตยมัลลี กลุ่มที่ 3 กรณีศึกษาโรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย(ห้อง Orchid) โดย คุณศิริกุล กุลเลียบ 14.45 - 17.00 น. แบ่งกลุ่มย่อย 4 กลุ่ม (1) นำเสนอแผนปฏิบัติการรายจังหวัด (ใช้ 8 จังหวัดเป็นกรณีตัวอย่าง) (2) อภิปรายและสรุปประเด็นสำคัญเพื่อการพัฒนาแผนรายจังหวัด กลุ่มที่ 1: ภาคเหนือ (ห้อง Conference 1) กลุ่มที่ 2: ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ห้อง Conference 2) กลุ่มที่ 3: ภาคกลาง (ห้อง Garden Ballroom) กลุ่มที่ 4: ภาคใต้ (ห้อง Orchid) วันอังคารที่ 22 กรกฎาคม 2546 08.30 - 9.00 น. ชี้แจงผลการจัดกลุ่มจังหวัดนำร่อง และกลุ่มจังหวัดที่เน้นสร้างนวตกรรม (Local initiative) โดย รศ.นพ.ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล แบ่งกลุ่มย่อย 4 กลุ่ม กลุ่มที่ 1: ภาคเหนือ (ห้อง Conference 1) กลุ่มที่ 2: ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ห้อง Conference 2) กลุ่มที่ 3: ภาคกลาง (ห้อง Garden Ballroom) กลุ่มที่ 4: ภาคใต้ (ห้อง Orchid) ผู้ดำเนินการประชุม นพ.แท้จริง ศิริพานิช 9.00 – 12.00 น. 1. ระดมสมอง เพื่อเขียน Concept Paper โครงการของแต่ละจังหวัด 2. คัดเลือกบุคคลเพื่อเป็น Focal point ประจำภาค(Cluster) ใน 4 ด้านคือ - ด้านทั่วไป - Traffic & Transport Engineering - Evaluation - MIS 12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 15.00 น. 1. ตัวแทนภาค (Cluster) นำเสนอ Concept Paper ภาคละ 3โครงการ 2. ข้อเสนอแนะจากนักวิชาการ ดำเนินรายการโดย นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ เลขาธิการมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ 15.30 น. พิธีปิด--จบ-- -รก-

ข่าวสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย+มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติวันนี้

นักวิจัยมจธ.โชว์เทคโนโลยีวิศวกรรมโบราณสถาน รัฐ-เอกชนรุมจีบทำฐานข้อมูลดิจิทัลสถานที่สำคัญ

รศ. ดร.สุทัศน์ ลีลาทวีวัฒน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีโลยีพระจอมเกล้า เปิดเผยถึงการนำผลงานวิจัยมาร่วมจัดแสดงในงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2566 ในฐานะหัวหน้าโครงการพัฒนาข้อมูลดิจิทัล 3 มิติ เพื่อการตรวจสอบโครงสร้างพื้นฐานและการรักษามรดกทางวัฒนธรรม ว่าโครงการนี้เป็นโครงการวิจัยที่ได้รับสนับสนุนจากหลายภาคส่วน โดยเริ่มต้นจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ในช่วงปี 2561-2562 และได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยอย่างต่อเนื่องจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.) ผ่านหน่วยบริหาร

ตลอดหลายปีที่ผ่านมาอุตสาหกรรมอาหารของประเ... Innovative house เสริมกระบวนการวิจัยและพัฒนาให้ SMEs ไทย ยกระดับอุตสาหกรรมอาหารและเวชสำอาง — ตลอดหลายปีที่ผ่านมาอุตสาหกรรมอาหารของประเทศเจริญเติบโตอย่างต่...

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) การ... “มิติใหม่ของข้าวเม่า” Fusion Food ฉบับบุรีรัมย์โมเดล — สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) การแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่เป็นอัตลักษณ์พื้นถิ่นให้กลายเป็นผลิตภัณฑ...

ผศ.ดร.จักรกฤษณ์ ศุทธากรณ์ คณบดีคณะวิศวกรร... คณะวิศวะมหิดล เดินหน้าโครงการวิจัยระบบโลจิสติกส์กทม.และปริมณฑล รองรับ “มหานครแห่งเอเชีย” — ผศ.ดร.จักรกฤษณ์ ศุทธากรณ์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิ...