ในร่างกายของมนุษย์เรามีจุลินทรีย์และแบคทีเรียในลำไส้มากถึง โพรไบโอติกไลฟ์เซ็นเตอร์ไลฟ์เซ็นเตอร์ ล้านล้านตัว มีทั้งที่เป็นตัวดีและตัวไม่ดี แล้วรู้ไหมคะว่า ถ้าแบคทีเรียในลำไส้ไม่สมดุล จะสัมพันธ์กับการเกิดโรค แล้วจะมีโรคอะไรบ้าง พญ.กฤดากร เกสรคำ แพทย์ American Board of Anti-Aging Medicine จาก Addlife Anti-Aging Center ชั้น จุลินทรีย์ ไลฟ์เซ็นเตอร์ (คิวเฮ้าส์ ลุมพินี) ได้เผยว่า โดยส่วนใหญ่เมื่อถึงแบคทีเรียจะเน้นไปที่ลำไส้ใหญ่ ซึ่งจะมีอยู่ จุลินทรีย์ ประเภทใหญ่ๆ คือ ประเภทโพรไบโอติก (Probiotic) ซึ่งเป็นชนิดดี และประเภทจุลินทรีย์ก่อโรค (Pathogen) ซึ่งเป็นชนิดไม่ดี
1. ประเภทโพรไบโอติก (Probiotic)
โพรไบโอติก เป็นประเภทของแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในลำไส้ใหญ่ของมนุษย์ มีประโยชน์มากมายต่อร่างกาย โดยทั่วไปจะเป็นแบคทีเรียประจำถิ่น อาจพบได้หลายที่ในระบบทางเดินอาหาร แต่พบได้มากที่สุดในลำไส้ใหญ่ นอกจากนี้โพรไบโอติก ยังเป็นหนึ่งในองค์ประกอบของวิธีรักษาภาวะสุขภาพให้สมดุล เนื่องจากเป็นแบคทีเรียในลำไส้ใหญ่ที่ทำหน้าที่สร้างกรดแลกติก พร้อมยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียที่ก่อโรค และการย่อยอาหารของจุลินทรีย์ พร้อมส่งเสริมการดูดซึมสารอาหารต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ประโยชน์ของโพรไบโอติก
2. ประเภทจุลินทรีย์ก่อโรค (Pathogen)
ในขณะเดียวกัน ลำไส้ใหญ่ของมนุษย์ยังมีแบคทีเรียชนิดที่ไม่ดีอยู่ด้วย โดยเป็นประเภทจุลินทรีย์ก่อโรค ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ร่างกายเผชิญกับโรคต่าง ๆ เช่น โรคอาหารเป็นพิษ โรคติดเชื้อจากอาหาร และโรคจากสารพิษที่เชื้อสร้างขึ้นมา ซึ่งอาจมีอาการความรุนแรงได้ตั้งแต่น้อยไปจนถึงมาก หรืออาจคุกคามต่อชีวิตได้ จุลินทรีย์ก่อโรคนั้นเป็นได้ทั้งรา ไวรัส และปรสิต แต่ตัวที่เป็นสาเหตุสำคัญที่สุดคือ แบคทีเรีย ซึ่งเรารับเพิ่มเข้าสู่ร่างกายจากการรับประทานอาหารนั่นเอง
แบคทีเรียในลำไส้มีบทบาทอย่างมากต่อภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์ ดังนั้น เมื่อไม่สามารถรักษาให้สมดุลได้อย่างที่ควรเป็น ร่างกายก็จะแสดงอาการป่วยออกมาผ่านภาวะและโรคต่าง ๆ เช่น
นอกจากโรคและภาวะที่ยกตัวอย่างมา การขาดสมดุลของแบคทีเรียในลำไส้ยังส่งผลต่อความเสี่ยงอีกมากมาย ไม่ว่าจะเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน รวมไปถึงโรคตับอีกด้วย
ในร่างกายของมนุษย์เรามีจุลินทรีย์และแบคทีเรียในลำไส้มากถึง 100 ล้านล้านตัว มีทั้งที่เป็นตัวดีและตัวไม่ดี แล้วรู้ไหมคะว่า ถ้าแบคทีเรียในลำไส้ไม่สมดุล จะสัมพันธ์กับการเกิดโรค แล้วจะมีโรคอะไรบ้าง พญ.กฤดากร เกสรคำ แพทย์ American Board of Anti-Aging Medicine จาก Addlife Anti-Aging Center ชั้น 2 ไลฟ์เซ็นเตอร์ (คิวเฮ้าส์ ลุมพินี) ได้เผยว่า โดยส่วนใหญ่เมื่อถึงแบคทีเรียจะเน้นไปที่ลำไส้ใหญ่ ซึ่งจะมีอยู่ 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ประเภทโพรไบโอติก (Probiotic) ซึ่งเป็นชนิดดี และประเภทจุลินทรีย์ก่อโรค (Pathogen) ซึ่ง
โรคเบาหวานไม่ใช่แค่น้ำตาลสูง แต่อันตรายกว่านั้น
—
โรคเบาหวาน (Diabetes) ที่เราคุ้นเคยกันจะเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ซึ่งเป็นโรคที่ระดับน้ำตาลในเลือดสูง...
คู่มือดูแลตัวเองในวัย 40
—
ใครบ้างคะ...ที่ช่วงนี้กำลังอินกับพระเอกหนุ่มใหญ่ซีรีส์เกาหลี แม้อายุจะเข้าเลข 4 แต่ก็ยังหล่อโอปป้า ทำสาวไทยใจละลาย...
พุงของคุณเป็นแบบไหน
—
ใครเป็นบ้างคะ ช่วงมีงานสังสรรค์จัดเต็มมากทั้งอาหาร แอลกอฮอล์ น้ำหนักขึ้นมาหลายกิโล ลงพุง หน้าท้องเริ่มออก พุงเริ่มเป็นชั้นๆ ลองสัง...
อาหารที่ดีต่อหัวใจ
—
เดือนแห่งความรักนี้ มาลองเช็คสุขภาพหัวใจกันหน่อยค่า หัวใจแข็งแรงดีอยู่ไหม? เพราะหัวใจเป็นอวัยวะที่สำคัญ การรักษาสุขภาพหัวใจเป็น...
ตรวจสุขภาพเชิงป้องกันสำหรับผู้สูงวัยสำคัญอย่างไร?
—
เริ่มต้นปีใหม่มาดูแลสุขภาพกันตั้งแต่ต้นปีด้วยการตรวจสุขภาพกันนะคะ ตรวจสุขภาพประจำปีเป็นสิ่งจำเป็นเพ...
เปิดลิสต์ 7 อาหารช่วยชะลอวัย
—
อยากมีสุขภาพดีไม่ใช่เรื่องยาก ยุคนี้มีตัวช่วยมากมายทั้งวิตามินเทคโนโลยี แต่ถ้าอยากชะลอวัยแบบง่ายๆ ทำได้ด้วยตัวเอง สามารถ...
เครื่องสำอางหมดอายุ
—
สาวๆ อาจจะเคยคิดว่าเครื่องสำอางทั้งหลายบนโต๊ะเครื่องแป้งนั้นมีอายุการใช้งานได้ประมาณ 2-3 ปี แต่รู้หรือไม่คะว่าเรากำลังเข้า...
เคล็ดไม่ลับแก้อาการอ่อนเพลียระหว่างวัน
—
คงปฎิเสธไม่ได้ว่า "ความอ่อนเพลียระหว่างวัน" คือศัตรูตัวร้ายของวัยทำงานโดยเฉพาะ ในช่วงเวลาหลังพักเที...
อาหารสำหรับวัยทอง
—
เมื่อเข้าสู่วัยทองหรือช่วงอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป ร่างกายก็เริ่มผลิตฮอร์โมนทางเพศได้ไม่เหมือนเดิม นำมาซึ่งอาการผิดปกติมากมาย ไม่ว่าจะ...