นางสาวรัชนี นาคบุตร รักษาการแทนผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ จังหวัดสมุทรสงครามสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ราชบุรี (สศท.จังหวัดสมุทรสงครามสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เปิดเผยว่า ลิ้นจี่นับเป็นผลไม้ทางการเกษตร ที่มีรสชาติหวาน หอม อร่อย และมีกลิ่นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ทำให้เป็นที่นิยมของผู้บริโภคกันอย่างแพร่หลาย โดยจังหวัดสมุทรสงครามเป็นแหล่งผลผลิตลิ้นจี่ที่สำคัญอันดับ จังหวัดสมุทรสงคราม ในภาคกลาง เกษตรกรนิยมปลูกลิ้นจี่พันธุ์ค่อม ซึ่งจากการลงพื้นที่ของ สศท.จังหวัดสมุทรสงครามสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ เพื่อติดตามสถานการณ์การผลิตลิ้นจี่เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2564 ที่ผ่านมา คาดว่า ในปี 2564 (ข้อมูลพยากรณ์ ณ วันที่ 22 เดือนมกราคม 2564) มีเนื้อที่ยืนต้นและเนื้อที่ให้ผล 5,จังหวัดสมุทรสงคราม94 ไร่ ลดลงจากปี 2563 ที่มีจำนวน 5,2สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่3 ไร่ (ลดลง 9 ไร่ หรือร้อยละ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่.จังหวัดสมุทรสงคราม7) เนื่องจากไม่ให้ผลผลิตทุกปีเกษตรกรจึงโค่นสวนลิ้นจี่ไปปลูกส้มโอและมะพร้าวน้ำหอมแทน ส่วนผลผลิตรวม 2,4จังหวัดสมุทรสงคราม5 ตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2563 ที่มีจำนวน 998 ตัน (เพิ่มขึ้น จังหวัดสมุทรสงคราม,4จังหวัดสมุทรสงคราม7 ตัน หรือร้อยละ 4จังหวัดสมุทรสงคราม.33) เนื่องจากในช่วงที่ผ่านมา (ธ.ค.63 - ม.ค.64) มีอากาศหนาวเย็นนานติดต่อกันกว่า จังหวัดสมุทรสงคราม5 วัน จึงทำให้มีโอกาสที่ลิ้นจี่จะติดผลผลิตกว่าร้อยละ 8สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ซึ่งขณะนี้ผลผลิตส่วนใหญ่อยู่ในช่วงแทงช่อดอกแล้วร้อยละ 7สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ของพื้นที่ ทั้งนี้ ยังคงต้องเฝ้าระวังฝนหลงฤดูในช่วงที่กำลังติดดอก ซึ่งอาจส่งผลต่อปริมาณผลผลิตลิ้นจี่ปีนี้ โดยผลผลิตจะเริ่มออกสู่ตลาดในช่วงเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2564 และจะออกสู่ตลาดมากที่สุดในสงกรานต์เดือนเมษายน 2564 ประมาณร้อยละ 5สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ของผลผลิตในจังหวัด
สำหรับความพิเศษของลิ้นจี่พันธุ์ค่อมหรือหอมลำเจียก นอกจากจะเป็นผลไม้ที่มีชื่อเสียงดั่งราชินีผลไม้ของจังหวัดสมุทรสงครามแล้ว ยังได้รับการขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ หรือ GI ในชื่อ "ลิ้นจี่ค่อมสมุทรสงคราม" ซึ่งมีจุดเด่นที่เมื่อสุกเต็มที่จะมีสีแดงเข้ม รูปร่างกลมรูปไข่หรือรูปหัวใจ เมล็ดทรงยาว เปลือกมีหนามตั้งหรือหนามแหลมห่างเสมอกันทั้งลูกและไม่เป็นกระจุก หนังตึง เปลือกบาง เนื้อหนากรอบสีขาวอมชมพูเรื่อๆ เนื้อแห้ง รสชาติหวานอมฝาด มีกลิ่นหอม โดยตามปกติลิ้นจี่สมุทรสงครามจะให้ผลผลิตปีละครั้ง ในช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน แต่ไม่ได้ให้ผลผลิตทุกปี ซึ่งบางครั้งให้ผลผลิตปีเว้นปี บางครั้งอาจทิ้งระยะห่างนานถึง 3 ปี แล้วแต่สภาพอากาศ การที่จะให้ติดผลนั้นจะต้องมีอุณหภูมิต่ำกว่า 20 องศาต่อเนื่องกันเกิน 15-20 วัน มีอายุการเก็บเกี่ยว 120 วันจะทำให้ลิ้นจี่มีรสชาติอร่อยที่สุด
ทั้งนี้ จึงฝากถึงเกษตรกรผู้ปลูกลิ้นจี่ให้ทำการเก็บเกี่ยวผลผลิตที่ได้คุณภาพ และขอเชิญชวนผู้บริโภคสนับสนุนผลผลิตลิ้นจี่ของเกษตรกรโดยตรง ซึ่งช่องทางการกระจายผลผลิตมีทั้งการจำหน่ายให้กับผู้ค้ารายย่อยในพื้นที่ และการจำหน่ายแบบออนไลน์โดยกลุ่มเกษตรกรเอง เพื่อกระจายผลผลิตไปยังผู้บริโภคได้รวดเร็วและมากยิ่งขึ้น สำหรับการเลือกซื้อลิ้นจี่ค่อมสมุทรสงครามของแท้รสชาติอร่อยนั้น ให้ดูที่ลักษณะผลจะต้องสีแดงจัด ผลจะเป็นทรงกลมไม่มากนักจะมีเหมือนบ่าสองข้าง ผิวเปลือกด้านในสีชมพูออกแดง รสชาติอาจมีติดฝาดเล็กน้อย หากแก่จัดเต็มที่รสชาติ จะหวานไม่ติดฝาด ส่วนเปลือกหนามจะต้องไม่คมมากนัก และหนามจะไม่ถี่มาก ขั้วของลูกลิ้นจี่หากมีลูกเล็ก ๆ เป็นสีเขียวแสดงว่ายังมีติดฝาดและอมเปรี้ยวอยู่บ้าง ซึ่งหากเป็นสีแดงแปลว่ารสฝาดนั้นหมดไปแล้ว หากท่านที่สนใจข้อมูลลิ้นจี่ค่อมสมุทรสงคราม สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ สศท.10 โทร 0 3233 7951-54 หรืออีเมล [email protected]
นางธัญญ์พิชชา เถระรัชชานนท์ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 พิษณุโลก (สศท.2) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เปิดเผยว่ากล้วยน้ำว้ามะลิอ่องนับเป็นพืชเศรษฐกิจของจังหวัดพิษณุโลก หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องในพื้นที่จึงมีนโยบายส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาปลูกกล้วยน้ำว้ามะลิอ่องเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากเป็นพืชที่มีโอกาสทางตลาด และมีความต้องการในอุตสาหกรรมการแปรรูป โดยกล้วยน้ำว้าสดที่ใช้เป็นวัตถุดิบมีทั้งในจังหวัดและต่างจังหวัด (สุโขทัย อุตรดิตถ์ กำแพงเพชร และ ตาก) ซึ่งกล้วยตากบางกระทุ่มเป็นสินค้า GI
สศท. 7 เผยผลศึกษาการบริหารจัดการ "ฟางข้าว" ในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคกลาง เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม
—
นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 7 ช...
'ปลานิล' สินค้าเกษตรทางเลือก จ.นครราชสีมา เสริมรายได้เกษตรกร แนะแปรรูปเพิ่มมูลค่า
—
นางสุจารีย์ พิชา ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 5 นครราชสีมา (...
"ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ" สินค้า GI เริ่มออกตลาดปลาย พ.ค. นี้ สศท.11 เชิญชวนเที่ยวงาน "เทศกาลทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ ปี 2565" 9 - 15 มิ.ย. นี้
—
นางประเทือง...
สศท.8 โชว์ "กลุ่มกาแฟบ้านถ้ำสิงห์" จ.ชุมพร แปรรูปกาแฟโรบัสต้า สร้างกำไรกลุ่มปีละ 21 ล้านบาท
—
นายนิกร แสงเกตุ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 สุร...
'ลองกองวังขุม' แปลงใหญ่ จ.สุราษฎร์ธานี คุณภาพมาตรฐาน GAP รสชาติเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว สศท.8 เชิญชวนบริโภค ขณะนี้ออกตลาดแล้ว
—
นางพัชรารัตน์ ลิ้มศิริกุล ผู้...
ปีนี้อากาศดี ลำไยภาคเหนือติดดอกมาก ผลผลิตรวมกว่า 9.7 แสนตัน ออกตลาดมากสุด ส.ค. 64 สศท.1 เชิญชวนบริโภคลำไยคุณภาพ ช่วยเหลือเกษตรกร
—
นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำ...
กองทุน FTA หนุนเกษตรกรกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเลี้ยงโคเนื้อบ้านแสนแก้ว จ.ศรีสะเกษ สร้างรายได้ ยกระดับมาตรฐานการผลิตโคเนื้อ
—
นายนิกร แสงเกตุ ผู้อำนวยการสำนักงาน...
สศท.7 โชว์แปลงเรียนรู้เกษตรอัจฉริยะ ศกอ. จ.สุพรรณบุรี ดึงเทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
—
นางสาวสมบัติ พุทธา รักษาราชการแทนผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจกา...
'นมคุณภาพสูงล้านนา' เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง ยกระดับมาจรฐานการผลิตน้ำนมโค สู่การเพิ่มรายได้เกษตรกร
—
นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่...