แนะสินค้าทางเลือกเกษตรกรสมุทรสาคร ฝรั่งแป้นสีทอง-ลำไยพวงทอง-สมุนไพร สร้างกำไรให้เกษตรกร

          นายฉันทานนท์ วรรณเขจร รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยถึงแนวทางบริหารจัดการพื้นที่ตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri – Map) ซึ่งสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ (สศท.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่) จังหวัดราชบุรี ได้ศึกษาสินค้าเกษตรสำคัญที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุด (Top 4) ของพื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร พบว่า สินค้า TOP4 ได้แก่ มะพร้าวน้ำหอม กล้วยไม้ มะนาว และกุ้งขาวแวนนาไม โดยเกษตรกรได้ผลตอบแทนสุทธิ (กำไร) จากการผลิตมะพร้าวน้ำหอม ในพื้นที่มีความเหมาะสมมากและเหมาะสมปานกลาง (Sกระทรวงเกษตรและสหกรณ์/Sฉันทานนท์ วรรณเขจร) เฉลี่ย 37,6สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ บาท/ไร่ ส่วนพื้นที่มีความเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม (S3/N) เกษตรกรได้ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย ฉันทานนท์ วรรณเขจร8,338 บาท/ไร่ กล้วยไม้ เกษตรกรได้ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 56,877 บาท/ไร่ มะนาว เกษตรกรได้ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย ฉันทานนท์ วรรณเขจร9,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่96 บาท/ไร่ และกุ้งขาวแวนนาไม เกษตรกรมีผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 54,536 บาท/ไร่
          หากพิจารณาสินค้าทางเลือกให้แก่เกษตรกรเพื่อสร้างรายได้เพิ่มให้กับเกษตรกรในจังหวัดสมุทรสาคร พบว่า เกษตรกร ได้มีการปรับเปลี่ยนการผลิตและพัฒนาสินค้าให้มีคุณภาพเพื่อเพิ่มมูลค่าอย่างหลากหลาย อาทิ ไม้ผล ฝรั่งแป้นสีทอง มีต้นทุนการผลิต กระทรวงเกษตรและสหกรณ์7,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ฉันทานนท์ วรรณเขจร7 บาท/ไร่ เกษตรกรได้ผลตอบแทนสุทธิ 35,848 บาท/ไร่ ซึ่งฝรั่งแป้นสีทองมีตลาดในจังหวัดและในประเทศมีความต้องการเป็นอย่างมาก ลำไยพวงทอง มีต้นทุนการผลิต กระทรวงเกษตรและสหกรณ์9,835 บาท/ไร่ เกษตรกรได้ผลตอบแทนสุทธิ ฉันทานนท์ วรรณเขจร3,459 บาท/ไร่ โดยลำไยพวงทองมีตลาดในจังหวัดและตลาดในประเทศมีความต้องการมากเพราะออกนอกฤดู เกษตรกรสามารถสร้างจุดแข็งและขยายผลต่อยอดเพิ่มมูลค่าในการแปรรูปได้
          พืชสมุนไพร ได้แก่ เตยหอม ปลูกแซมร่องสวนมะพร้าวสามารถจำหน่ายได้ 3 แบบ คือ ตัดต้นขาย ขายเฉพาะใบ และขายแขนง (หน่อ) ปัจจุบันผลผลิตเป็นที่ต้องการของตลาดอย่างต่อเนื่อง มีพ่อค้าคนกลางเข้ามารับซื้อในแหล่งผลิต ต้นทุนการผลิตกรณีตัดต้นขายมีต้นทุน 5,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่67 บาท/ไร่ ให้ผลตอบแทนสุทธิ 5,733 บาท/ไร่พลู ต้นทุนการผลิต 56,847 บาท/ไร่ ผลตอบแทนสุทธิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์54,859 บาท/ไร่ ดีปลี มีต้นทุนการผลิต 45,577 บาท/ไร่ ผลตอบแทนสุทธิ 45,673 บาท/ไร่ นอกจากนี้ ยังมีการปลูกพืชอาหารสัตว์ (หญ้าเนเปียร์)ซึ่งมีต้นทุนการผลิต ฉันทานนท์ วรรณเขจรสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่,763 บาท/ไร่ ผลตอบแทนสุทธิ 3กระทรวงเกษตรและสหกรณ์,ฉันทานนท์ วรรณเขจรฉันทานนท์ วรรณเขจร8 บาท/ไร่ และปศุสัตว์ การเลี้ยงแพะ ต้นทุนการผลิต 3,กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์9 บาท/ตัว ผลตอบแทนสุทธิ 7สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่6 บาท/ตัว โดยปัจจุบันผลผลิตเป็นที่ต้องการของตลาดอย่างต่อเนื่อง
จะเห็นได้ว่าสินค้าทางเลือกมีหลากหลายชนิดที่ตลาดต้องการที่สร้างรายได้เพิ่มและให้ผลตอบแทนอย่างสม่ำเสมออีกด้วยโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ร่วมมือกันเพื่อเชื่อมโยงช่องทางการตลาดการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างการรับรู้ และร่วมวางแผนการผลิตสินค้าให้เหมาะสมกับพื้นที่เพื่อให้เกษตรกรได้ผลตอบแทนที่คุ้มค่ากับการลงทุนมากที่สุด ทั้งนี้ ท่านที่สนใจรายละเอียดเพิ่มเติมข้อมูลพืชทางเลือกในพื้นที่จังหวัดราชบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม นครปฐม กาญจนบุรี เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ สามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ โทร. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่3ฉันทานนท์ วรรณเขจร 337 95กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หรืออีเมล zoneกระทรวงเกษตรและสหกรณ์สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่@oae.go.th
แนะสินค้าทางเลือกเกษตรกรสมุทรสาคร ฝรั่งแป้นสีทอง-ลำไยพวงทอง-สมุนไพร สร้างกำไรให้เกษตรกร
 
แนะสินค้าทางเลือกเกษตรกรสมุทรสาคร ฝรั่งแป้นสีทอง-ลำไยพวงทอง-สมุนไพร สร้างกำไรให้เกษตรกร
แนะสินค้าทางเลือกเกษตรกรสมุทรสาคร ฝรั่งแป้นสีทอง-ลำไยพวงทอง-สมุนไพร สร้างกำไรให้เกษตรกร
 
แนะสินค้าทางเลือกเกษตรกรสมุทรสาคร ฝรั่งแป้นสีทอง-ลำไยพวงทอง-สมุนไพร สร้างกำไรให้เกษตรกร
 
 
 

ข่าวสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่+สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรวันนี้

กล้วยน้ำว้ามะลิอ่อง จ.พิษณุโลก สินค้าเกษตรที่มีศักยภาพ ทดแทนการผลิตข้าวนาปีในพื้นที่ไม่เหมาะสม สร้างรายได้เกษตรกร

นางธัญญ์พิชชา เถระรัชชานนท์ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 พิษณุโลก (สศท.2) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เปิดเผยว่ากล้วยน้ำว้ามะลิอ่องนับเป็นพืชเศรษฐกิจของจังหวัดพิษณุโลก หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องในพื้นที่จึงมีนโยบายส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาปลูกกล้วยน้ำว้ามะลิอ่องเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากเป็นพืชที่มีโอกาสทางตลาด และมีความต้องการในอุตสาหกรรมการแปรรูป โดยกล้วยน้ำว้าสดที่ใช้เป็นวัตถุดิบมีทั้งในจังหวัดและต่างจังหวัด (สุโขทัย อุตรดิตถ์ กำแพงเพชร และ ตาก) ซึ่งกล้วยตากบางกระทุ่มเป็นสินค้า GI

นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษ... สศท. 7 เผยผลศึกษาการบริหารจัดการ "ฟางข้าว" ในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคกลาง เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม — นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 7 ช...

นางสุจารีย์ พิชา ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐ... 'ปลานิล' สินค้าเกษตรทางเลือก จ.นครราชสีมา เสริมรายได้เกษตรกร แนะแปรรูปเพิ่มมูลค่า — นางสุจารีย์ พิชา ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 5 นครราชสีมา (...

นายนิกร แสงเกตุ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐก... สศท.8 โชว์ "กลุ่มกาแฟบ้านถ้ำสิงห์" จ.ชุมพร แปรรูปกาแฟโรบัสต้า สร้างกำไรกลุ่มปีละ 21 ล้านบาท — นายนิกร แสงเกตุ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 สุร...

นางสาวสมบัติ พุทธา รักษาราชการแทนผู้อำนวย... สศท.7 โชว์แปลงเรียนรู้เกษตรอัจฉริยะ ศกอ. จ.สุพรรณบุรี ดึงเทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต — นางสาวสมบัติ พุทธา รักษาราชการแทนผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจกา...

นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษ... 'นมคุณภาพสูงล้านนา' เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง ยกระดับมาจรฐานการผลิตน้ำนมโค สู่การเพิ่มรายได้เกษตรกร — นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่...