เผยสินค้า Top4 มหาสารคาม แนะพืชทางเลือก 'มันฯ-กล้วยหอมทอง-พืชผัก’ ทดแทนนาข้าวพื้นที่ S3/N

          นางสาวทัศนีย์ เมืองแก้ว รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยถึงแนวทางบริหารจัดการพื้นที่ตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri - Map) ในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม ซึ่งสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 4 (สศท.4) จังหวัดขอนแก่น ได้ทำการศึกษาสินค้าเกษตรที่สำคัญ Top4 ของจังหวัด พบว่า ข้าวเหนียวนาปี อ้อยโรงงาน โคเนื้อ และกระบือ เป็น 4 สินค้าสำคัญที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุดของจังหวัด โดยทำการศึกษาเปรียบเทียบระหว่างพื้นที่เหมาะสม (Sกระทรวงเกษตรและสหกรณ์,Sทัศนีย์ เมืองแก้ว) กับพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3,N) เพื่อนำมาวิเคราะห์แนวทางการบริหารจัดการพื้นที่ และนำเสนอสินค้าเกษตรทางเลือกที่ให้ผลตอบแทนสูงให้แก่เกษตรกร สำหรับใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสมของนาข้าวตามแผนที่ Agri-Map
          จากการศึกษา พบว่า ปัจจุบัน จังหวัดมหาสารคาม มีพื้นที่เหมาะสม (Sกระทรวงเกษตรและสหกรณ์,Sทัศนีย์ เมืองแก้ว) สำหรับการปลูกข้าว จำนวน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์,38สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่,กระทรวงเกษตรและสหกรณ์สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ไร่ และพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3,N) จำนวน 789,8สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ไร่ ในขณะที่อ้อยโรงงาน มีพื้นที่เหมาะสม (Sกระทรวงเกษตรและสหกรณ์,Sทัศนีย์ เมืองแก้ว) สำหรับการปลูกจำนวน 9สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่,956 ไร่ และพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3,N) จำนวน 84,96ทัศนีย์ เมืองแก้ว ไร่
          หากพิจารณาผลตอบแทนสุทธิจากการผลิต ข้าวเหนียวนาปี ในพื้นที่เหมาะสม (Sกระทรวงเกษตรและสหกรณ์,Sทัศนีย์ เมืองแก้ว) พบว่า เกษตรกรได้กำไร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์,353 บาท/ไร่ ส่วนพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3,N) เกษตรกรขาดทุน ทัศนีย์ เมืองแก้ว,กระทรวงเกษตรและสหกรณ์6สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ บาท/ไร่ อ้อยโรงงาน ในพื้นที่เหมาะสม (Sกระทรวงเกษตรและสหกรณ์,Sทัศนีย์ เมืองแก้ว) ได้กำไร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์,3กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ บาท/ไร่ ส่วนในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3,N) ได้กำไร 355 บาท/ไร่ ด้านโคเนื้อและกระบือ ไม่แยกพื้นที่ความเหมาะสม โดยโคเนื้อ ให้ผลตอบแทน 7,9ทัศนีย์ เมืองแก้วกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ บาท/ตัว และ กระบือ ให้ผลตอบแทน 6,3สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่7 บาท/ตัว
          สำหรับสินค้าทางเลือกเพื่อปรับเปลี่ยนนาข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสม พบว่า มันสำปะหลัง สามารถให้ผลตอบแทนสุทธิที่สูงกว่าข้าวเหนียวนาปี โดยมีต้นทุน 6,6ทัศนีย์ เมืองแก้วกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ บาท/ไร่ คิดเป็นผลตอบแทนสุทธิ เกษตรกรได้กำไร 55กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ บาท/ไร่ กล้วยหอมทอง มีต้นทุน ทัศนีย์ เมืองแก้ว8,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่9กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ บาท/ไร่ เกษตรกรได้กำไรในปีแรก 657 บาท/ไร่ (ผลตอบแทนจะเพิ่มขึ้นในปีถัดไป) พืชผักอาทิ กะหล่ำปลี ปลูกปีละ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รอบ เฉพาะช่วงฤดูหนาว เริ่มปลูกธันวาคม อายุเก็บเกี่ยว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ทัศนีย์ เมืองแก้วสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ วัน ต้นทุน ทัศนีย์ เมืองแก้วสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่,358 บาท/ไร่/รอบการผลิต เกษตรกรได้กำไร ทัศนีย์ เมืองแก้ว6,9ทัศนีย์ เมืองแก้ว5 บาท/ไร่ 
          ผักรวม ได้แก่ ผักชี ต้นหอม โหระพา สะระแหน่ ใบแมงลัก กะเพรา ซึ่งปลูกได้ตลอดปี อายุเก็บเกี่ยว 4สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่-5สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ วัน มีต้นทุน 7,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่68 บาท/ไร่/รอบการผลิต เกษตรกรได้กำไร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์,755 บาท/ไร่/รอบการผลิต และผักกาด ปลูกปีละ 3 รอบ ช่วงเวลาปลูก ธันวาคม-พฤษภาคม อายุเก็บเกี่ยว 45 วัน ต้นทุน ทัศนีย์ เมืองแก้ว,395 บาท/ไร่/รอบการผลิต เกษตรกรได้กำไร 9,38ทัศนีย์ เมืองแก้ว บาท/ไร่/รอบการผลิต
          ด้านนายฉกาจ ฉันทจิระวัฒน์ ผู้อำนวยการ สศท.4 กล่าวเสริมว่า ผลการศึกษาดังกล่าว สศท.4 ได้นำเสนอในที่ประชุม โครงการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจสำหรับสินค้าเกษตรที่สำคัญ (Zoning) ปี ทัศนีย์ เมืองแก้ว56กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ของจังหวัดมหาสารคาม เมื่อวันที่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์9 ธันวาคมที่ผ่านมา โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วยหัวหน้าส่วนราชการ ผู้แทนส่วนราชการ รวมทั้งผู้แทนเกษตรกร เพื่อนำเสนอแนวทางในการบริหารจัดการพื้นที่และรับฟังความคิดเห็น ซึ่งผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในแต่ละภาคส่วนทั้งภาครัฐและภาคเกษตรกรมีข้อเสนอว่านอกเหนือจากสินค้าTop4 และพืชทางเลือกที่เสนอมาแล้วนั้น ควรส่งเสริมการปลูกอินทผาลัม พืชสมุนไพร หม่อนไหม การเลี้ยงโคนม และการเลี้ยงปลาตะเพียนเพื่อแปรรูป ซึ่งสินค้าดังกล่าวยังเป็นที่ต้องการของตลาด และคาดว่าจะเป็นทางเลือกให้กับเกษตรกรให้สามารถเพิ่มรายได้อีกทางหนึ่งด้วย สำหรับสินค้าชนิดใหม่ ที่ยังไม่เคยผลิตในพื้นที่ หากเกษตรกรจะทดลองผลิตจะต้องทำแบบค่อยเป็นค่อยไป ประกอบกับควรศึกษาข้อมูลต้นทุน ผลตอบแทน และเรื่องการตลาด ตามแนวทางตลาดนำการผลิตให้รอบคอบ หากท่านที่สนใจต้องการสอบถามผลการศึกษาเพิ่มเติม สามารถสอบถามได้ที่ สศท.4 โทร. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่43 ทัศนีย์ เมืองแก้ว6กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 5กระทรวงเกษตรและสหกรณ์3 ต่อ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์3 หรืออีเมล [email protected]
เผยสินค้า Top4 มหาสารคาม แนะพืชทางเลือก 'มันฯ-กล้วยหอมทอง-พืชผัก’ ทดแทนนาข้าวพื้นที่ S3/N
 
เผยสินค้า Top4 มหาสารคาม แนะพืชทางเลือก 'มันฯ-กล้วยหอมทอง-พืชผัก’ ทดแทนนาข้าวพื้นที่ S3/N
 
เผยสินค้า Top4 มหาสารคาม แนะพืชทางเลือก 'มันฯ-กล้วยหอมทอง-พืชผัก’ ทดแทนนาข้าวพื้นที่ S3/N
เผยสินค้า Top4 มหาสารคาม แนะพืชทางเลือก 'มันฯ-กล้วยหอมทอง-พืชผัก’ ทดแทนนาข้าวพื้นที่ S3/N

ข่าวสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่+สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรวันนี้

กล้วยน้ำว้ามะลิอ่อง จ.พิษณุโลก สินค้าเกษตรที่มีศักยภาพ ทดแทนการผลิตข้าวนาปีในพื้นที่ไม่เหมาะสม สร้างรายได้เกษตรกร

นางธัญญ์พิชชา เถระรัชชานนท์ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 พิษณุโลก (สศท.2) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เปิดเผยว่ากล้วยน้ำว้ามะลิอ่องนับเป็นพืชเศรษฐกิจของจังหวัดพิษณุโลก หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องในพื้นที่จึงมีนโยบายส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาปลูกกล้วยน้ำว้ามะลิอ่องเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากเป็นพืชที่มีโอกาสทางตลาด และมีความต้องการในอุตสาหกรรมการแปรรูป โดยกล้วยน้ำว้าสดที่ใช้เป็นวัตถุดิบมีทั้งในจังหวัดและต่างจังหวัด (สุโขทัย อุตรดิตถ์ กำแพงเพชร และ ตาก) ซึ่งกล้วยตากบางกระทุ่มเป็นสินค้า GI

นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษ... สศท. 7 เผยผลศึกษาการบริหารจัดการ "ฟางข้าว" ในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคกลาง เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม — นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 7 ช...

นางสุจารีย์ พิชา ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐ... 'ปลานิล' สินค้าเกษตรทางเลือก จ.นครราชสีมา เสริมรายได้เกษตรกร แนะแปรรูปเพิ่มมูลค่า — นางสุจารีย์ พิชา ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 5 นครราชสีมา (...

นายนิกร แสงเกตุ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐก... สศท.8 โชว์ "กลุ่มกาแฟบ้านถ้ำสิงห์" จ.ชุมพร แปรรูปกาแฟโรบัสต้า สร้างกำไรกลุ่มปีละ 21 ล้านบาท — นายนิกร แสงเกตุ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 สุร...

นางสาวสมบัติ พุทธา รักษาราชการแทนผู้อำนวย... สศท.7 โชว์แปลงเรียนรู้เกษตรอัจฉริยะ ศกอ. จ.สุพรรณบุรี ดึงเทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต — นางสาวสมบัติ พุทธา รักษาราชการแทนผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจกา...

นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษ... 'นมคุณภาพสูงล้านนา' เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง ยกระดับมาจรฐานการผลิตน้ำนมโค สู่การเพิ่มรายได้เกษตรกร — นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่...