สศก. เปิดผลวอเตอร์ฟุตพริ้นท์ ข้าว ทุเรียน ปาล์ม เจาะปริมาณน้ำที่ใช้ แนะเกษตรกรต้องวางแผน

          สศก. เผยผลการศึกษาวอเตอร์ฟุตพริ้นท์ การผลิตข้าวหอมมะลิ ข้าว กข ทุเรียน และปาล์มน้ำมันในพื้นที่ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ แจงปริมาณการใช้น้ำต่อไร่ในแต่ละชนิด แนะเกษตรกร วางแผนการใช้น้ำให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ดึงเทคนิคการผลิตสมัยใหม่ปรับใช้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำสูงสุดและคุ้มค่าต่อการลงทุน 
          นายสุชัย กิตตินันทะศิลป์ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 6 จังหวัดชลบุรี (สศท.6) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เปิดเผยว่า สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรส่วนภูมิภาค ได้บูรณาการศึกษาวอเตอร์ฟุตพริ้นท์ของการผลิตข้าวหอมมะลิในพื้นที่ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่และศรีสะเกษ การผลิตข้าว กข ในพื้นที่ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่จังหวัดลพบุรี สุพรรณบุรี และสงขลา การผลิตทุเรียนในพื้นที่ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่จังหวัดตราด และการผลิตปาล์มน้ำมันในพื้นที่ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่จังหวัดชุมพร พบว่า
          ข้าวหอมมะลิ พื้นที่ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ มีปริมาณการใช้น้ำต่อไร่ 995.24 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ หรือเท่ากับปริมาณการใช้น้ำต่อตันข้าว สุชัย กิตตินันทะศิลป์,972.สุชัย กิตตินันทะศิลป์4 ลูกบาศก์เมตร และในพื้นที่ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ ปริมาณการใช้น้ำต่อไร่ สุชัย กิตตินันทะศิลป์,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่24.8สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ลูกบาศก์เมตร หรือเท่ากับปริมาณการใช้น้ำต่อตันข้าว 2,59สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่.97 ลูกบาศก์เมตร ทั้งนี้ การผลิตข้าวหอมมะลิในพื้นที่อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีษะเกษ มีปริมาณการใช้น้ำต่อตันข้าวสูงกว่าอำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ เนื่องจากพื้นที่ส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่จังหวัดศรีษะเกษมีปริมาณผลผลิตข้าวค่อนข้างน้อย ส่งผลให้ปริมาณการใช้น้ำของพื้นต่อไร่และต่อตันผลผลิตสูงตามไปด้วย
          การผลิตข้าว กข พื้นที่ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ อำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ปริมาณการใช้น้ำต่อไร่ สุชัย กิตตินันทะศิลป์,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่75.สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่9 ลูกบาศก์เมตร หรือเท่ากับปริมาณการใช้น้ำต่อตันข้าว สุชัย กิตตินันทะศิลป์,378.32 ลูกบาศก์เมตร และในพื้นที่ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี ปริมาณการใช้น้ำต่อไร่ สุชัย กิตตินันทะศิลป์,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่53.23 ลูกบาศก์เมตร หรือเท่ากับปริมาณการใช้น้ำต่อตันข้าว สุชัย กิตตินันทะศิลป์,4สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่6.46 ลูกบาศก์เมตร ส่วนในพื้นที่ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ปริมาณการใช้น้ำต่อไร่ สุชัย กิตตินันทะศิลป์,สุชัย กิตตินันทะศิลป์88.สุชัย กิตตินันทะศิลป์4 ลูกบาศก์เมตร หรือเท่ากับปริมาณการใช้น้ำต่อตันข้าว สุชัย กิตตินันทะศิลป์,72สุชัย กิตตินันทะศิลป์.94 ลูกบาศก์เมตร ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบวอเตอร์ฟุตพริ้นท์ของการผลิตข้าว กข ในพื้นที่ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ทั้ง 3 แปลง พบว่า แปลงใหญ่อำเภออำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี มีปริมาณการใช้น้ำต่อตันข้าวน้อยที่สุดเพราะมีปริมาณผลผลิตข้าวในพื้นที่ส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ค่อนข้างมากและใช้น้ำน้อยที่สุด ส่วนแปลงใหญ่อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรีมีปริมาณการใช้น้ำต่อตันข้าวเป็นอันดับสอง และแปลงใหญ่อำเภอระโนด จังหวัดสงขลามีปริมาณการใช้น้ำต่อตันข้าวและปริมาณการใช้น้ำต่อไร่สูงสุด
          การผลิตทุเรียน พื้นที่ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ อำเภอเขาสมิง จังหวัดตราด ปริมาณการใช้น้ำต่อไร่ สุชัย กิตตินันทะศิลป์,525.86 ลูกบาศก์เมตร หรือเท่ากับปริมาณการใช้น้ำต่อตันผลผลิต 868.45 ลูกบาศก์เมตร โดยการปลูกทุเรียน สุชัย กิตตินันทะศิลป์ ไร่ ควรมีแหล่งน้ำเพื่อใช้การเกษตรขนาด 793.97 ลูกบาศก์เมตร ถึง สุชัย กิตตินันทะศิลป์,525.86 ลูกบาศก์เมตร เป็นเบื้องต้นหรือหากต้องการปลูกทุเรียน สุชัย กิตตินันทะศิลป์สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ไร่ ควรมีพื้นที่สระน้ำ สุชัย กิตตินันทะศิลป์ ไร่ เพราะความต้องการน้ำชลประทานที่สูงทำให้ต้นทุนการเพาะปลูกสูงขึ้น และเกษตรกรต้องปรับตัวให้ทันกับสถานการณ์น้ำที่เปลี่ยนไปเนื่องจากสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปด้วย และการผลิตปาล์มน้ำมัน พื้นที่ที่ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร ปริมาณการใช้น้ำต่อไร่ 2,สุชัย กิตตินันทะศิลป์57.34 ลูกบาศก์เมตร หรือเท่ากับปริมาณการใช้น้ำต่อตันผลผลิต 83สุชัย กิตตินันทะศิลป์.28 ลูกบาศก์เมตร
          ดังนั้น เกษตรกรควรมีการวางแผนการเก็บกักน้ำ และการใช้น้ำให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ เช่น การขุดสระเพื่อกักเก็บน้ำไว้ใช้ในช่วงขาดแคลนน้ำ และการนำเทคนิคการผลิตสมัยใหม่มาช่วยเพื่อเพิ่มประสิทธิการผลิต เช่น การใช้เทคนิคการปลูกแบบเปียกสลับแห้ง เพื่อใช้น้ำในปริมาณลดลง หรือเลือกวิธีการให้น้ำที่มีประสิทธิภาพและปริมาณที่เหมาะสม เพื่อให้มีประสิทธิภาพการใช้น้ำสูงสุดและคุ้มค่าต่อการลงทุน ทั้งนี้ ท่านที่สนใจต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม หรือผลการประเมินมูลค่าน้ำทางเศรษฐกิจและเปรียบเทียบผลตอบแทนทางเศรษฐกิจจากการผลิตของสินค้าเกษตร สามารถสอบถามได้ที่ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 6 จังหวัดชลบุรี โทร. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่38 352 435 หรืออีเมล [email protected]
 

ข่าวสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่+สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรวันนี้

กล้วยน้ำว้ามะลิอ่อง จ.พิษณุโลก สินค้าเกษตรที่มีศักยภาพ ทดแทนการผลิตข้าวนาปีในพื้นที่ไม่เหมาะสม สร้างรายได้เกษตรกร

นางธัญญ์พิชชา เถระรัชชานนท์ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 พิษณุโลก (สศท.2) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เปิดเผยว่ากล้วยน้ำว้ามะลิอ่องนับเป็นพืชเศรษฐกิจของจังหวัดพิษณุโลก หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องในพื้นที่จึงมีนโยบายส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาปลูกกล้วยน้ำว้ามะลิอ่องเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากเป็นพืชที่มีโอกาสทางตลาด และมีความต้องการในอุตสาหกรรมการแปรรูป โดยกล้วยน้ำว้าสดที่ใช้เป็นวัตถุดิบมีทั้งในจังหวัดและต่างจังหวัด (สุโขทัย อุตรดิตถ์ กำแพงเพชร และ ตาก) ซึ่งกล้วยตากบางกระทุ่มเป็นสินค้า GI

นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษ... สศท. 7 เผยผลศึกษาการบริหารจัดการ "ฟางข้าว" ในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคกลาง เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม — นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 7 ช...

นางสุจารีย์ พิชา ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐ... 'ปลานิล' สินค้าเกษตรทางเลือก จ.นครราชสีมา เสริมรายได้เกษตรกร แนะแปรรูปเพิ่มมูลค่า — นางสุจารีย์ พิชา ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 5 นครราชสีมา (...

นายนิกร แสงเกตุ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐก... สศท.8 โชว์ "กลุ่มกาแฟบ้านถ้ำสิงห์" จ.ชุมพร แปรรูปกาแฟโรบัสต้า สร้างกำไรกลุ่มปีละ 21 ล้านบาท — นายนิกร แสงเกตุ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 สุร...

นางสาวสมบัติ พุทธา รักษาราชการแทนผู้อำนวย... สศท.7 โชว์แปลงเรียนรู้เกษตรอัจฉริยะ ศกอ. จ.สุพรรณบุรี ดึงเทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต — นางสาวสมบัติ พุทธา รักษาราชการแทนผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจกา...

นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษ... 'นมคุณภาพสูงล้านนา' เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง ยกระดับมาจรฐานการผลิตน้ำนมโค สู่การเพิ่มรายได้เกษตรกร — นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่...