ส้มเขียวหวาน สุโขทัย ไม้ผลเศรษฐกิจ สร้างรายได้แก่เกษตรกร

          สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 ลงพื้นที่สำรวจข้อมูลส้มเขียวหวานในจังหวัดสุโขทัย เผย เนื้อที่ปลูก ทั้งจังหวัดรวม 29,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ไร่ ผลผลิตรวม 93,8สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ตัน ปัจจุบันมีแหล่งปลูกส้มเขียวหวานเพียงแหล่งเดียว ที่ อ.ศรีสัชนาลัย ซึ่งนับเป็นไม้ผลที่ให้ผลผลิต สร้างความมั่นคงทางรายได้ให้แก่เกษตรกรในพื้นที่เป็นอย่างดี
          นายคมสัน จำรูญพงษ์ รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยถึงการลงพื้นที่สำรวจข้อมูลส้มเขียวหวานในจังหวัดสุโขทัย โดยสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 จังหวัดพิษณุโลก (สศท.2) ได้ติดตามสถานการณ์การผลิต การตลาด ปริมาณผลผลิตและความต้องการของตลาด เพื่อนำไปพิจารณาจัดทำบัญชีสมดุลระดับจังหวัด ปี 256สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่
          จากการสำรวจพบว่า เกษตรกรในจังหวัดสุโขทัยมีการขยายพื้นที่ปลูกส้มเขียวหวานเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะ ในพื้นที่ ต.แม่สิน และ ต.แม่สำ อ.ศรีสัชนาลัย เนื่องจากส้มสายน้ำผึ้งนั้นมีราคาสูง ส่งผลให้ส้มสายพันธุ์อื่นๆ ที่เป็นสินค้าทดแทนราคาสูงตามไปด้วย อีกทั้งเป็นไม้ผลที่ให้ผลผลิตยั่งยืนสามารถสร้างความมั่นคงทางรายได้ โดยผลผลิตบางส่วนเข้าสู่โรงงานแปรรูปน้ำผลไม้
          ภาพรวมการผลิตส้มเขียวหวานปี 256สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ จังหวัดสุโขทัยมีเนื้อที่ปลูก 29,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ไร่ เนื้อที่ให้ผล 26,8สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ไร่ ผลผลิตรวม 93,8สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 3,5สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ กก.ต่อไร่ มีแหล่งปลูกส้มเขียวหวานเพียงแหล่งเดียว คือ อ.ศรีสัชนาลัย โดยร้อยละ8สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ อยู่ใน ต.แม่สิน และ ร้อยละ 2สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ อยู่ใน ต.แม่สำ ซึ่งผลผลิตเฉลี่ยของต้นส้มเขียวหวานที่มีอายุระหว่าง 5-กระทรวงเกษตรและสหกรณ์สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ปี มีผลผลิตเฉลี่ย 3.5 ตันต่อไร่ ส่วนต้นส้มเขียวหวานที่มีอายุระหว่าง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ -2สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ปี มีผลผลิตเฉลี่ย 7 ตันต่อไร่
          ปัจจุบันเกษตรกรส่วนใหญ่แบ่งเนื้อที่ปลูกส้มเขียวหวานประมาณ 2สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ไร่ต่อครัวเรือน จากพื้นที่ถือครอง 5สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ - 6สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ไร่ต่อครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 3สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ของเนื้อที่ถือครองทั้งหมด ถือได้ว่าเกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกส้มเขียวหวานเป็นอาชีพหลักและแบ่งพื้นที่ไว้ทำนาเพื่อบริโภค เกษตรกรทุกรายจำหน่ายผลผลิตให้แก่จุดรับซื้อ โดยร้อยละ 7สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ เป็นจุดรับซื้อของคนในพื้นที่ อีกร้อยละ 3สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ เป็นจุดรับซื้อของคนนอกพื้นที่ จำนวนจุดรับซื้อส้มเขียวหวานของ อ.ศรีสัชนาลัย มีประมาณ 65 จุด
          อย่างไรก็ตาม ผลผลิตที่จังหวัดผลิตได้จำนวน 93,8สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ตัน มีการนำเข้าจากต่างจังหวัดผ่านพ่อค้ารวบรวมระดับต่างๆ ประมาณ 3สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่,53สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ตัน (ร้อยละ 32.54 ของผลผลิตที่จังหวัดผลิตได้) ผลผลิตรวมทั้งสิ้น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์24,33สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ตัน แบ่งเป็นความต้องการใช้ในจังหวัดประมาณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์2,434 ตัน (ร้อยละ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่) ส่งออกไปต่างจังหวัด 87,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่3สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ตัน (ร้อยละ 7สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่) และส่งออกตลาดต่างประเทศประมาณ 24,866 ตัน (ร้อยละ 2สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่) โดยผ่านตัวแทนส่งออก
          ทั้งนี้ เกษตรกรส่วนใหญ่ยังคงผลิตตามความเคยชิน และต้องการความรู้และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการผลิตเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต โดยเกษตรกรยังเห็นว่าการปรับเปลี่ยนการปลูกส้มเขียวหวานแบบทั่วไปเป็นส้มเขียวหวาน GAP จะช่วยเพิ่มปริมาณความต้องการของตลาดให้มากขึ้นตามไปด้วย
 
 

ข่าวสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่+สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรวันนี้

กล้วยน้ำว้ามะลิอ่อง จ.พิษณุโลก สินค้าเกษตรที่มีศักยภาพ ทดแทนการผลิตข้าวนาปีในพื้นที่ไม่เหมาะสม สร้างรายได้เกษตรกร

นางธัญญ์พิชชา เถระรัชชานนท์ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 พิษณุโลก (สศท.2) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เปิดเผยว่ากล้วยน้ำว้ามะลิอ่องนับเป็นพืชเศรษฐกิจของจังหวัดพิษณุโลก หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องในพื้นที่จึงมีนโยบายส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาปลูกกล้วยน้ำว้ามะลิอ่องเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากเป็นพืชที่มีโอกาสทางตลาด และมีความต้องการในอุตสาหกรรมการแปรรูป โดยกล้วยน้ำว้าสดที่ใช้เป็นวัตถุดิบมีทั้งในจังหวัดและต่างจังหวัด (สุโขทัย อุตรดิตถ์ กำแพงเพชร และ ตาก) ซึ่งกล้วยตากบางกระทุ่มเป็นสินค้า GI

นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษ... สศท. 7 เผยผลศึกษาการบริหารจัดการ "ฟางข้าว" ในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคกลาง เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม — นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 7 ช...

นางสุจารีย์ พิชา ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐ... 'ปลานิล' สินค้าเกษตรทางเลือก จ.นครราชสีมา เสริมรายได้เกษตรกร แนะแปรรูปเพิ่มมูลค่า — นางสุจารีย์ พิชา ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 5 นครราชสีมา (...

นายนิกร แสงเกตุ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐก... สศท.8 โชว์ "กลุ่มกาแฟบ้านถ้ำสิงห์" จ.ชุมพร แปรรูปกาแฟโรบัสต้า สร้างกำไรกลุ่มปีละ 21 ล้านบาท — นายนิกร แสงเกตุ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 สุร...

นางสาวสมบัติ พุทธา รักษาราชการแทนผู้อำนวย... สศท.7 โชว์แปลงเรียนรู้เกษตรอัจฉริยะ ศกอ. จ.สุพรรณบุรี ดึงเทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต — นางสาวสมบัติ พุทธา รักษาราชการแทนผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจกา...

นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษ... 'นมคุณภาพสูงล้านนา' เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง ยกระดับมาจรฐานการผลิตน้ำนมโค สู่การเพิ่มรายได้เกษตรกร — นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่...