ศกอ. อุดรธานี ยึดแนวทฤษฎีใหม่ หันทำเกษตรผสมผสานสำเร็จ พร้อมถ่ายทอดสู่ชุมชน

          สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 3 ชูเศรษฐกิจการเกษตรอาสาตัวอย่างในพื้นที่จังหวัดอุดรธานี นายบรรลุ นาถสีทา ผู้ผันตนเองทำการเกษตรผสมผสานจนประสบผลสำเร็จ สร้างรายได้กว่า 232,5สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ บาท/ปี บนพื้นที่ 3กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไร่ ทั้งนาข้าว สวนปาล์ม ยางพารา บ่อน้ำ ไม้ผล ผักสวนครัวและเลี้ยงสัตว์ ยึดแนวเกษตรทฤษฎีใหม่ เศรษฐกิจพอเพียง พร้อมเปิดเป็นศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผิตสินค้าเกษตร เพื่อให้เกษตรกรเข้ามาศึกษานำไปปรับใช้ต่อไป
          นายคมสัน จำรูญพงษ์ รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 3 จังหวัดอุดรธานี (สศท.3) ได้ลงพื้นที่ศึกษาต้นแบบการทำเกษตรผสมผสาน นายบรรลุ นาถสีทา เศรษฐกิจการเกษตรอาสา (ศกอ.) จังหวัดอุดรธานี ซึ่งประสบความสำเร็จสามารถสร้างรายได้ 232,5สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ บาท/ปี โดยนายบรรลุ นาถสีทา มีพื้นที่ทำการเกษตร 3กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไร่ 2 งาน เป็นที่ดอน เดิมทีทำนาปลูกข้าวนาปี แต่ได้ผลผลิตไม่ค่อยดี เนื่องจากดินขาดความอุดมสมบูรณ์ ยิ่งทำนาปลูกข้าวก็ยิ่งมีหนี้สินเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จึงไปหารับจ้างเก็บกาแฟที่จังหวัดชุมพร
          จุดเริ่มต้นครั้งนั้น ทำให้ได้เห็นคนในพื้นที่ทางภาคใต้ปลูกไม้ผล และมีรายได้ดี จึงคิดอยากจะปลูกไม้ผลในที่ของตนบ้าง ต่อมาในปี 2527 จึงเริ่มทำการขุดบ่อ เพื่อเก็บน้ำไว้ใช้ทำการเกษตร และได้เริ่มนำไม้ผล เช่น เงาะ ลิ้นจี่ มะม่วง พุทรา มาปลูกเป็นครั้งแรก โดยได้มีโอกาสเข้าร่วมฝึกอบรมโครงการพระราชดำริเกษตรทฤษฎีใหม่ เศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทำให้ได้รับความรู้เกี่ยวกับการทำเกษตรแบบผสมผสาน ไร่นาสวนผสม ซึ่งน่าจะเหมาะกับพื้นที่ของตน จึงได้นำเอาความรู้เหล่านั้นมาปรับใช้ ลองผิดลองถูกเรื่อยมา
          ปัจจุบัน พื้นที่ 3กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไร่ 2 งาน ได้จัดแบ่งพื้นที่ทำการเกษตรแบบผสมผสานดังนี้ นาข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ไร่ (ข้าวเหนียว 5 ไร่ ข้าวเจ้า 5 ไร่ ขายข้าวได้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์2,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ บาท/ปี) สวนปาล์มน้ำมัน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ไร่ ซึ่งให้ผลผลิตแล้ว (ขายผลผลิตได้ 7กระทรวงเกษตรและสหกรณ์,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ บาท/ปี) ยางพารา 6 ไร่ (จะเปิดกรีด ปี 256สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่) บ่อน้ำสำหรับใช้ในการเกษตรและเลี้ยงปลา 3 ไร่ (4 บ่อ เลี้ยงปลาแบบธรรมชาติ ขายได้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์6,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ บาท ต่อปี) ไม้ผลที่ปลูกไว้ อาทิ เงาะ ลิ้นจี่ มะม่วง พุทรา ก็ให้ผลผลิตแล้ว (ขายได้ 2กระทรวงเกษตรและสหกรณ์,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ บาท/ปี)
          สำหรับพื้นที่ว่างรอบบ่อ ได้ปลูกพืชผักสวนครัว เช่น พริก มะเขือ ฟักทอง บวบ มะละกอ เสาวรส (ขายได้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์3,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ บาท/ปี) นอกจากนี้ ยังได้นำไก่ไข่มาเลี้ยงจำนวน 2สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ตัว (ขายไข่ไก่ได้ประมาณ 45สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ บาท/วัน) เป็ดไข่จำนวน 8สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ตัว (ขายไข่เป็ดได้ประมาณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์25 บาท/วัน) ไก่พื้นบ้าน 2สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ตัว (ขายได้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์4,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ บาท/ปี) และที่สำคัญยังได้ทำปุ๋ยหมักไว้ใช้เอง เพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิตอีกทางหนึ่งด้วย
          นับเป็นความสำเร็จในรูปแบบของเกษตรผสมผสานของเกษตรกร นายบรรลุ นาถสีทา ด้วยการจัดสรรพื้นที่ได้อย่างลงตัว มีเป้าหมายผลิตทุกอย่างไว้ทั้งใช้บริโภคในครอบครัว และนำออกจำหน่าย สามารถลดรายจ่าย ขณะเดียวกันก็มีรายได้เสริมจากการค้าขายพืชผักสวนครัว ท่านจึงอยากตอบแทนชุมชนและสังคม โดยเปิดให้เป็นศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผิตสินค้าเกษตร ตั้งอยู่ที่ 44 หมู่ที่ 9 บ้านเหล่าอุดม ต.บ้านจันทร์ อ.บ้านดุง จ.อุดรธานี เพื่อผู้ที่สนใจได้เข้ามาศึกษาเรียนรู้และนำไปปรับใช้ต่อไป
 
 

ข่าวสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่+สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรวันนี้

กล้วยน้ำว้ามะลิอ่อง จ.พิษณุโลก สินค้าเกษตรที่มีศักยภาพ ทดแทนการผลิตข้าวนาปีในพื้นที่ไม่เหมาะสม สร้างรายได้เกษตรกร

นางธัญญ์พิชชา เถระรัชชานนท์ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 พิษณุโลก (สศท.2) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เปิดเผยว่ากล้วยน้ำว้ามะลิอ่องนับเป็นพืชเศรษฐกิจของจังหวัดพิษณุโลก หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องในพื้นที่จึงมีนโยบายส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาปลูกกล้วยน้ำว้ามะลิอ่องเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากเป็นพืชที่มีโอกาสทางตลาด และมีความต้องการในอุตสาหกรรมการแปรรูป โดยกล้วยน้ำว้าสดที่ใช้เป็นวัตถุดิบมีทั้งในจังหวัดและต่างจังหวัด (สุโขทัย อุตรดิตถ์ กำแพงเพชร และ ตาก) ซึ่งกล้วยตากบางกระทุ่มเป็นสินค้า GI

นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษ... สศท. 7 เผยผลศึกษาการบริหารจัดการ "ฟางข้าว" ในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคกลาง เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม — นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 7 ช...

นางสุจารีย์ พิชา ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐ... 'ปลานิล' สินค้าเกษตรทางเลือก จ.นครราชสีมา เสริมรายได้เกษตรกร แนะแปรรูปเพิ่มมูลค่า — นางสุจารีย์ พิชา ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 5 นครราชสีมา (...

นายนิกร แสงเกตุ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐก... สศท.8 โชว์ "กลุ่มกาแฟบ้านถ้ำสิงห์" จ.ชุมพร แปรรูปกาแฟโรบัสต้า สร้างกำไรกลุ่มปีละ 21 ล้านบาท — นายนิกร แสงเกตุ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 สุร...

นางสาวสมบัติ พุทธา รักษาราชการแทนผู้อำนวย... สศท.7 โชว์แปลงเรียนรู้เกษตรอัจฉริยะ ศกอ. จ.สุพรรณบุรี ดึงเทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต — นางสาวสมบัติ พุทธา รักษาราชการแทนผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจกา...

นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษ... 'นมคุณภาพสูงล้านนา' เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง ยกระดับมาจรฐานการผลิตน้ำนมโค สู่การเพิ่มรายได้เกษตรกร — นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่...