ปวดท้องบ่อยสัญญาณบอกโรค

          ปวดท้อง เป็นอาการนำที่พบบ่อยเป็นอันดับต้นๆ ของคนไข้แบบผู้ป่วยนอกหรือที่เรียกว่า OPD case ซึ่งอาการปวดท้องนี้อาจมีสาเหตุได้มากมาย เนื่องจากช่องท้องมีอวัยวะภายในหลายอวัยวะเช่น ตับ ม้าม กระเพาะ ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ ตับอ่อน ไต ถ้าปวดท้องน้อยหร้อท้องส่วนล่างก็มีกระเพาะปัสสาวะ โดยเฉพาะผู้หญิงจะมีระบบสืบพันธุ์ เช่น มดลูก รังไข่ ในเพศชายจะมีต่อมลูกหมาก เป็นต้น
          พญ.กฤดากร เกษรคำ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านชะลอวัย จาก AddLife Anti-Aging Center ชั้น ต่อมลูกหมาก ไลฟ์เซ็นเตอร์ (คิวเฮ้าส์ ลุมพินี) ได้กล่าวถึงอาการปวดท้องว่า อาการปวดท้องส่วนใหญ่ไม่รุนแรง แต่มักมีสาเหตุมาจากพฤติกรรมการทานอาหารไม่เหมาะสม เช่น การทานอาหารรสจัด อาหารดิบ ย่อยยาก ดื่มแอลกอฮอล์ หรือ เกิดจากความเครียด นอนหลับผักผ่อนไม่เพียงพอ สูบบุหรี่ ทำให้ระบบย่อยอาหาร ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอ เพิ่มความเสื่ยงโรคต่างๆ เช่น
          ต่อมลูกหมากต่อมลูกหมาก6; โรคกระเพาะอาหารอักเสบ
          ต่อมลูกหมากต่อมลูกหมาก6; โรคกรดไหลย้อน
          ต่อมลูกหมากต่อมลูกหมาก6; โรคลำไส้อักเสบ
          ต่อมลูกหมากต่อมลูกหมาก6; โรคตับอ่อนอักเสบ
          ต่อมลูกหมากต่อมลูกหมาก6; โรคมะเร็ง ทั้งมะเร็งในช่องท้องและนอกช่องท้อง
          ต่อมลูกหมากต่อมลูกหมาก6; นิ่วทางเดินปัสสาวะ
          ต่อมลูกหมากต่อมลูกหมาก6; ระบบฮอร์โมนไม่สมดุล เกิดถุงน้ำรังไข่ ประจำเดือนมาไม่ปกติ เป็นต้น
          เนื่องจากอาการปวดท้องส่วนใหญ่ทุเลาได้ด้วยการทานยาที่หาซื้อได้ง่าย เช่น ยาลดกรด ยาคลายกล้ามเนื้อแก้ปวดท้อง แต่อย่างไรก็ตามการซื้อทานยาเองสามารถทำได้เบื้องต้นแต่ถ้าอาการไม่ดีขึ้น ปวดรุนแรงเรื้อรัง หรือมีอาการอื่นร่วมด้วย เช่น ไข้ตัวร้อน อาเจียน ถ่ายเหลว อุจจาระเป็นเลือด ควรไปพบแพทย์เพื่อตรวจหาสาเหตุและรับการรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม โรคที่ต้องรักษาด้วยการผ่าตัดหลายโรคก็มีอาการปวดท้องเป็นอาการนำ เช่น ไส้ติ่งอักเสบ เป็นต้น
          ดังนั้นการดูแลตนเองที่ดีจะช่วยลดความเสี่ยงโรคต่างๆ รวมทั้งอาการปวดท้องด้วยการปฏิบัติตนดังนี้
          ต่อมลูกหมากต่อมลูกหมาก6; ลดโอกาสติดเชื้อต่างๆ ของทางเดินอาหาร โดยทานอาหารสุกๆ สะอาด หลีกเลี่ยงอาหาร รสจัด ย่อยยาก อาหารมันๆ เครื่องดื่มอัดแก๊สต่างๆ ที่เพิ่มแก๊สในกระเพาะอาหาร
          ต่อมลูกหมากต่อมลูกหมาก6; หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่างๆ เช่น ไม่สูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แต่ในปริมาณน้อยหรือไม่ดื่มเลย เพราะเป็นสาเหตุของโรคกระเพาะอาหารอักเสบ ตับอ่อนอักเสบ โรคมะเร็ง
          ต่อมลูกหมากต่อมลูกหมาก6; ปรับสภาพลำไส้และภูมิคุ้มกันร่างกายให้แข็งแรงด้วยการทาน Probiotic แบคทีเรียชนิดดีที่ช่วยเสริมและภูมิคุ้มกัน เช่น แลคโตแบซิลัส รักษาโรค Leaky Gut ลดอาการท้องอืด มีแก๊ส
          ต่อมลูกหมากต่อมลูกหมาก6; ทานผักผลไม้เป็นประจำ เนื่องจากมีคุณสมบัติเป็น Prebiotic ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ probiotic และมีไฟเบอร์ป้องกันอาการท้องผูก
          ต่อมลูกหมากต่อมลูกหมาก6; นอนหลับผักผ่อนให้เพียงพอ และการออกกำลังกายสม่ำเสมอช่วยให้ระบบย่อยอาหาร การขับถ่ายทำงานปกติ
          ต่อมลูกหมากต่อมลูกหมาก6; การทานวิตามินเสริมหรือรักษาด้วยฮอร์โมนช่วยลดอาการปวดบางอย่างได้ เช่น ปวดท้องน้อยเวลามีประจำเดือน เสริมความแข็งแรงของร่างกายและอวัยวะต่างๆ โดยรวม
          ต่อมลูกหมากต่อมลูกหมาก6; ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์เพื่อลดความเสี่ยงการเกิดโรคกรดไหลย้อน โรคมะเร็ง
          ต่อมลูกหมากต่อมลูกหมาก6; ออกกำลังกายเป็นประจำ ช่วยกระตุ้นการทำงานระบบย่อยอาหาร เพิ่มการหมุนเวียนเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกายรวมถึงระบบย่อยอาหาร อวัยวะต่างๆ ในช่องท้อง เป็นต้น


ข่าวกฤดากร เกษรคำ แพทย์+ไลฟ์เซ็นเตอร์วันนี้

โรคเบาหวานไม่ใช่แค่น้ำตาลสูง แต่อันตรายกว่านั้น

โรคเบาหวาน (Diabetes) ที่เราคุ้นเคยกันจะเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ซึ่งเป็นโรคที่ระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ (60-110 mg/dL) แบบเรื้อรัง โดยปกติอินซูลิน (Insulin) จะเป็นตัวนำน้ำตาลเข้าสู่เซลล์ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดปกติ แต่ถ้ามีความผิดปกติของตับอ่อน ทำให้ผลิตอินซูลินได้น้อยลง หรือมีภาวะดื้ออินซูลิน ก็จะทำให้น้ำตาลในเลือดสูงหรือเป็นโรคเบาหวานนั่นเอง พญ.กฤดากร เกษรคำ แพทย์ American Board of Anti-Aging Medicine จาก Addlife Anti-Aging Center ชั้น 2 ไลฟ์เซ็นเตอร์ (คิวเฮ้าส์ ลุมพินี)j ได้อธิบายเพิ่มเติม

ใครบ้างคะ...ที่ช่วงนี้กำลังอินกับพระเอกหน... คู่มือดูแลตัวเองในวัย 40 — ใครบ้างคะ...ที่ช่วงนี้กำลังอินกับพระเอกหนุ่มใหญ่ซีรีส์เกาหลี แม้อายุจะเข้าเลข 4 แต่ก็ยังหล่อโอปป้า ทำสาวไทยใจละลาย...

เดือนแห่งความรักนี้ มาลองเช็คสุขภาพหัวใจก... อาหารที่ดีต่อหัวใจ — เดือนแห่งความรักนี้ มาลองเช็คสุขภาพหัวใจกันหน่อยค่า หัวใจแข็งแรงดีอยู่ไหม? เพราะหัวใจเป็นอวัยวะที่สำคัญ การรักษาสุขภาพหัวใจเป็น...

เริ่มต้นปีใหม่มาดูแลสุขภาพกันตั้งแต่ต้นปี... ตรวจสุขภาพเชิงป้องกันสำหรับผู้สูงวัยสำคัญอย่างไร? — เริ่มต้นปีใหม่มาดูแลสุขภาพกันตั้งแต่ต้นปีด้วยการตรวจสุขภาพกันนะคะ ตรวจสุขภาพประจำปีเป็นสิ่งจำเป็นเพ...

อยากมีสุขภาพดีไม่ใช่เรื่องยาก ยุคนี้มีตัว... เปิดลิสต์ 7 อาหารช่วยชะลอวัย — อยากมีสุขภาพดีไม่ใช่เรื่องยาก ยุคนี้มีตัวช่วยมากมายทั้งวิตามินเทคโนโลยี แต่ถ้าอยากชะลอวัยแบบง่ายๆ ทำได้ด้วยตัวเอง สามารถ...

คงปฎิเสธไม่ได้ว่า "ความอ่อนเพลียระหว่างวั... เคล็ดไม่ลับแก้อาการอ่อนเพลียระหว่างวัน — คงปฎิเสธไม่ได้ว่า "ความอ่อนเพลียระหว่างวัน" คือศัตรูตัวร้ายของวัยทำงานโดยเฉพาะ ในช่วงเวลาหลังพักเที...

เมื่อเข้าสู่วัยทองหรือช่วงอายุตั้งแต่ 50 ... อาหารสำหรับวัยทอง — เมื่อเข้าสู่วัยทองหรือช่วงอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป ร่างกายก็เริ่มผลิตฮอร์โมนทางเพศได้ไม่เหมือนเดิม นำมาซึ่งอาการผิดปกติมากมาย ไม่ว่าจะ...

การตรวจสุขภาพพื้นฐานเป็นสิ่งที่ควรตรวจเป็... ตรวจส่องกล้องทางเดินอาหาร จำเป็นไหม ใครควรตรวจ? — การตรวจสุขภาพพื้นฐานเป็นสิ่งที่ควรตรวจเป็นประจำทุกปี เพื่อป้องกันความเสี่ยงก่อนที่จะเกิดโรค และนอกจ...

สมองล้า เพลีย ไม่ปลอดโปร่ง ความจำแย่ลง ระ... 5 สารอาหารช่วยบำรุงสมองและระบบประสาท — สมองล้า เพลีย ไม่ปลอดโปร่ง ความจำแย่ลง ระบบประสาทเสื่อม เช่น ชาปลายมือ ปลายเท้า เหล่านี้เกิดได้จากหลายสาเหตุ ได้...

PM 2.5 หรือ ฝุ่นควันพิษ ยังคงเป็นปัญหาที่... How to ต่อสู้ฝุ่น PM2.5 — PM 2.5 หรือ ฝุ่นควันพิษ ยังคงเป็นปัญหาที่ไม่ได้รับการแก้ไข และยิ่งดูเหมือนจะรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพตามมาได้ ...