สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 5 ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลด้านอุปสงค์และอุปทานของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์รุ่น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี 2559 จังหวัดชัยภูมิ ระบุ ปี 2559 จะมีผลผลิตรวม 66,28สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่.57 ตัน ช่วงระยะที่ผลผลิตออกสู่ตลาดมากสุด คือ เดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม แนะ รวมกลุ่มเกษตรกร ผลิตในปริมาณที่ตลาดต้องการ แปรรูปเป็นอาหารสัตว์ใช้เองเพื่อลดต้นทุนในการเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกร
นายคมสัน จำรูญพงษ์ รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยถึงผลวิเคราะห์ข้อมูลด้านอุปสงค์และอุปทาน (Demand&Supply) ของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์รุ่น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี 2559 ของจังหวัดชัยภูมิ โดยสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรการเกษตรที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา (สศท.5) พบว่า ด้านอุปทาน (Supply) สต็อกต้นปีของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์รุ่น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีประมาณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ตัน ซึ่งในปี 2559 คาดว่า จะมีผลผลิตภายในจังหวัด 58,752.5กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตัน และมีการนำเข้าผลผลิตจากจังหวัดใกล้เคียง 6,528.สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่6 ตัน รวมผลผลิต 66,28สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่.57 ตัน ซึ่งช่วงระยะที่มีผลผลิตออกสู่ตลาดมากสุด คือ พฤศจิกายน - ธันวาคม 2559
ด้านอุปสงค์ คาดว่า จากผลผลิตมีประมาณ 66,28สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่.57 ตัน จะมีการส่งออกผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ไปยังแหล่งรับซื้อรวมถึงโรงงานอาหารสัตว์ และโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปเพื่อการบริโภค 64,กระทรวงเกษตรและสหกรณ์93.26 ตัน และเป็นส่วนผสมในอาหารสัตว์แก่เกษตรกรรายย่อยและกลุ่มผู้เลี้ยงปศุสัตว์ (โคนม ไก่พื้นเมือง และไก่ชน) เพื่อใช้ในจังหวัด จำนวนกระทรวงเกษตรและสหกรณ์,958.4สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ตัน โดยแหล่งรับซื้อภายในจังหวัดชัยภูมิยังคงมีการชะลอการขายเพื่อเก็งราคา (สต็อกปลายปี) จำนวน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์28.9กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตัน
ช่องทางการส่งออกผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ของจังหวัดชัยภูมิ มี 3 ช่องทาง ได้แก่ ช่องทางที่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เกษตรกรนำผลผลิตไปขายให้กับพ่อค้ารวบรวมในท้องถิ่น (ลานรับซื้อ) คิดเป็นร้อยละ 5สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ของปริมาณผลผลิตทั้งหมด ช่องทางที่ 2 เกษตรกรนำผลผลิตไปขายให้กับสหกรณ์การเกษตร คิดเป็นร้อยละ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์9 ของปริมาณผลผลิตทั้งหมด และ ช่องทางที่ 3 เกษตรจะนำไปขายให้กับผู้ประกอบการรายใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 3กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ของปริมาณผลผลิตทั้งหมด
จากผลการศึกษาในเรื่องของการกำหนดราคาของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ผู้ที่มีอำนาจในการกำหนดราคา คือ โรงงานอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ และโรงงานแปรรูปเพื่อการบริโภค ซึ่งในประเทศไทยมีไม่กี่บริษัท ดังนั้น ถ้าหากมีการรวมกลุ่มของเกษตรกรในรูปแบบของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร หรือพันธะสัญญา (Contract Farming) ในการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในปริมาณที่ตลาดต้องการ และสามารถสร้างอำนาจในการต่อรองกับผู้ประกอบการได้ รวมถึงการแปรรูปเป็นอาหารสัตว์เพื่อใช้เองก็จะเป็นการช่วยลดต้นทุนในการเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกร และเป็นการเพิ่มอุปสงค์ภายในจังหวัดเพิ่มขึ้นซึ่งความต้องการรับซื้อผลผลิตก็จะยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง
นางธัญญ์พิชชา เถระรัชชานนท์ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 พิษณุโลก (สศท.2) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เปิดเผยว่ากล้วยน้ำว้ามะลิอ่องนับเป็นพืชเศรษฐกิจของจังหวัดพิษณุโลก หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องในพื้นที่จึงมีนโยบายส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาปลูกกล้วยน้ำว้ามะลิอ่องเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากเป็นพืชที่มีโอกาสทางตลาด และมีความต้องการในอุตสาหกรรมการแปรรูป โดยกล้วยน้ำว้าสดที่ใช้เป็นวัตถุดิบมีทั้งในจังหวัดและต่างจังหวัด (สุโขทัย อุตรดิตถ์ กำแพงเพชร และ ตาก) ซึ่งกล้วยตากบางกระทุ่มเป็นสินค้า GI
สศท. 7 เผยผลศึกษาการบริหารจัดการ "ฟางข้าว" ในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคกลาง เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม
—
นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 7 ช...
'ปลานิล' สินค้าเกษตรทางเลือก จ.นครราชสีมา เสริมรายได้เกษตรกร แนะแปรรูปเพิ่มมูลค่า
—
นางสุจารีย์ พิชา ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 5 นครราชสีมา (...
"ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ" สินค้า GI เริ่มออกตลาดปลาย พ.ค. นี้ สศท.11 เชิญชวนเที่ยวงาน "เทศกาลทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ ปี 2565" 9 - 15 มิ.ย. นี้
—
นางประเทือง...
สศท.8 โชว์ "กลุ่มกาแฟบ้านถ้ำสิงห์" จ.ชุมพร แปรรูปกาแฟโรบัสต้า สร้างกำไรกลุ่มปีละ 21 ล้านบาท
—
นายนิกร แสงเกตุ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 สุร...
'ลองกองวังขุม' แปลงใหญ่ จ.สุราษฎร์ธานี คุณภาพมาตรฐาน GAP รสชาติเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว สศท.8 เชิญชวนบริโภค ขณะนี้ออกตลาดแล้ว
—
นางพัชรารัตน์ ลิ้มศิริกุล ผู้...
ปีนี้อากาศดี ลำไยภาคเหนือติดดอกมาก ผลผลิตรวมกว่า 9.7 แสนตัน ออกตลาดมากสุด ส.ค. 64 สศท.1 เชิญชวนบริโภคลำไยคุณภาพ ช่วยเหลือเกษตรกร
—
นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำ...
กองทุน FTA หนุนเกษตรกรกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเลี้ยงโคเนื้อบ้านแสนแก้ว จ.ศรีสะเกษ สร้างรายได้ ยกระดับมาตรฐานการผลิตโคเนื้อ
—
นายนิกร แสงเกตุ ผู้อำนวยการสำนักงาน...
สศท.7 โชว์แปลงเรียนรู้เกษตรอัจฉริยะ ศกอ. จ.สุพรรณบุรี ดึงเทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
—
นางสาวสมบัติ พุทธา รักษาราชการแทนผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจกา...
'นมคุณภาพสูงล้านนา' เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง ยกระดับมาจรฐานการผลิตน้ำนมโค สู่การเพิ่มรายได้เกษตรกร
—
นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่...