ปภ.รายงานสถานการณ์ภัยแล้งใน 12 จังหวัด พร้อมประสานจังหวัดวางมาตรการป้องกันการปิดกั้น – ลักลอบสูบน้ำ

          กระทรวงมหาดไทย โดยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) รายงานมีจังหวัดประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (ภัยแล้ง) สถานการณ์ภัยแล้งเขื่อนอุบลรัตน์ จังหวัด พร้อมประสานจังหวัดสำรวจ ตรวจสอบแหล่งน้ำ และบริหารจัดการน้ำให้สอดคล้องกับปริมาณน้ำต้นทุนในพื้นที่ ให้ความสำคัญกับการจัดสรรน้ำอุปโภคบริโภคเป็นหลัก รวมถึง วางมาตรการป้องกันการปิดกั้นและลักลอบสูบน้ำ เน้นการสร้างความเข้าใจแก่ทุกภาคส่วนเกี่ยวกับสถานการณ์น้ำ การควบคุมกิจกรรมการใช้น้ำ และแผนการจัดสรรน้ำในพื้นที่ ตลอดจนกำชับจังหวัดในพื้นที่บริเวณเขื่อนอุบลรัตน์ เพิ่มความเข้มข้นในการวางแนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับการเลี้ยงปลาในกระชัง ป้องกันมิให้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพน้ำ
          นายฉัตรชัย พรหมเลิศ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) เปิดเผยว่า จากการติดตามเฝ้าระวังและประเมินสถานการณ์ภัยแล้ง พบว่า ปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำและปริมาณน้ำท่าอยู่ต่ำกว่าเกณฑ์ค่าเฉลี่ย โดยขณะนี้มีจังหวัดประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (ภัยแล้ง) จำนวน สถานการณ์ภัยแล้งเขื่อนอุบลรัตน์ จังหวัด 46 อำเภอ เขื่อนอุบลรัตน์สถานการณ์ภัยแล้ง6 ตำบล สถานการณ์ภัยแล้ง,89บริหารจัดการน้ำ หมู่บ้าน คิดเป็นร้อยละ เขื่อนอุบลรัตน์.5บริหารจัดการน้ำ ของหมู่บ้านทั่วประเทศแยกเป็น ภาคเหนือ 5 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ อุตรดิตถ์ พะเยา สุโขทัย และนครสวรรค์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4 จังหวัด ได้แก่ นครราชสีมา นครพนม มหาสารคาม และบุรีรัมย์ ภาคกลาง เขื่อนอุบลรัตน์ จังหวัด ได้แก่ กาญจนบุรี และเพชรบุรี ภาคตะวันออก สถานการณ์ภัยแล้ง จังหวัด ได้แก่ สระแก้ว เพื่อเป็นการเตรียมพร้อมรับมือสถานการณ์ภัยแล้งที่มีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น จากปริมาณน้ำที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จึงได้ประสานจังหวัดสำรวจ ตรวจสอบแหล่งน้ำ และปริมาณน้ำในพื้นที่ พร้อมบริหารจัดการน้ำให้สอดคล้องกับปริมาณน้ำต้นทุนในพื้นที่ ให้ความสำคัญกับการจัดสรรน้ำอุปโภคบริโภคเป็นหลัก โดยเฉพาะพื้นที่วิกฤติขาดแคลนน้ำที่อาจส่งผลกระทบต่อน้ำดิบในการผลิตน้ำประปา ให้วางมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาไว้ล่วงหน้า สร้างความเข้าใจกับประชาชน เกษตรกร ภาคธุรกิจ และภาคอุตสาหกรรมเกี่ยวกับมาตรการควบคุมกิจกรรมการใช้น้ำและแผนการจัดสรรน้ำในพื้นที่ เพื่อป้องกันการปิดกั้นและลักลอบสูบน้ำจากแหล่งน้ำสาธารณะไปใช้ผิดประเภท จนส่งผลกระทบต่อการผลิตน้ำประปาเพื่อการอุปโภคบริโภค กรณีมีปัญหาการแย่งน้ำ ให้ส่งเจ้าหน้าที่ลงพื้นที่เจรจาสร้างความเข้าใจ และกำหนดกติกาการใช้น้ำร่วมกัน เพื่อให้การจัดสรรน้ำแก่ประชาชนในพื้นที่ต้นน้ำและท้ายน้ำเท่าเทียมกัน รวมถึงใช้กลไก "ประชารัฐ" ในการสนับสนุนภาชนะกักเก็บน้ำในพื้นที่เสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ำ พร้อมตรวจสอบซ่อมแซมภาชนะกักเก็บน้ำให้อยู่ในสภาพใช้งานได้ดี สำหรับพื้นที่ที่ต้อง เฝ้าระวังปัญหาการขาดแคลนน้ำเป็นพิเศษ ได้แก่ พื้นที่บริเวณเขื่อนอุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น ซึ่งมีการเพาะเลี้ยงปลาในกระชังเป็นจำนวนมาก ให้เพิ่มความเข้มข้นในการกำหนดแนวทางปฏิบัติร่วมกัน เพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพน้ำ ท้ายนี้ ขอให้ร่วมกันใช้น้ำอย่างประหยัด งดทำนาปรัง วางแผนเพาะปลูกพืชให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด เพื่อให้มีน้ำใช้อย่างเพียงพอตลอดช่วงฤดูแล้ง รวมถึงประเทศไทยผ่านพ้นวิกฤตภัยแล้งในครั้งนี้ไปได้ด้วยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย-เขื่อนอุบลรัตน์เขื่อนอุบลรัตน์4บริหารจัดการน้ำ-กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย674 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย-เขื่อนอุบลรัตน์เขื่อนอุบลรัตน์4บริหารจัดการน้ำ-เขื่อนอุบลรัตน์เขื่อนอุบลรัตน์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย www.disaster.go.th


ข่าวกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย+สถานการณ์ภัยแล้งวันนี้

'ภัยแล้ง' ทีม SEhRT กรมอนามัย-สสจ.-ท้องถิ่น เตรียมพร้อมรับมือพื้นที่ขาดแคลนน้ำ

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข มอบทีม SEhRT ประสานภารกิจร่วมกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และหน่วยงานท้องถิ่นในระดับพื้นที่ เพื่อเตรียมความพร้อมรับมือสถานการณ์ภัยแล้ง ลดความเสี่ยงผลกระทบต่อสุขภาพประชาชน แพทย์หญิงอัมพร เบญจพลพิทักษ์ อธิบดีกรมอนามัย กล่าวว่า จากสถานการณ์อุณหภูมิความร้อนที่สูงขึ้นในหลายจังหวัด ทำให้เกิดภาวะภัยแล้งในหลายพื้นที่ ภัยแล้งลักษณะนี้เกิดขึ้นเป็นประจำทุกปี ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและเกิดภาวะโรคจากความร้อน จากข้อมูลกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในปี 2567 ที่ผ่านมาได้ประกาศ

ปภ.ชี้แจงสถานการณ์ภัยแล้งในจังหวัดนครราชสีมา และพิจิตร บูรณาการทุกภาคส่วนลดผลกระทบจากภาวะขาดแคลนน้ำ

นายบุญธรรม เลิศสุขีเกษม อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) ในฐานะผู้อำนวยการกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกลาง (กอปภ.ก.) เปิดเผยว่า จากกรณีสื่อมวลชนรายงานสถานการณ์ภัยแล้งในจังหวัดนครราชสีมา...

ปภ.บูรณาการเครื่องจักรกลบูรณาการแก้ไขปัญหาภัยแล้งครอบคลุมทุกพื้นที่เสี่ยง เน้นบริหารจัดการ – จัดสรรน้ำทั่วถึง ดูแลทุกครัวเรือนให้มีน้ำอุปโภคบริโภคเพียงพอ

จากการคาดการณ์สถานการณ์น้ำของกรมชลประทาน พบว่า ภาพรวมปริมาณน้ำของทั้งประเทศอยู่ในปริมาณน้อย ประกอบกับปริมาณฝนต่ำกว่าค่าปกติ ส่งผลให้ภัย...

จากสถานการณ์ภัยแล้งปี 2563 ที่มีการรายงาน... สกสว. เผยโรดแมพวิจัย พร้อมลุยภัยแล้ง’63 — จากสถานการณ์ภัยแล้งปี 2563 ที่มีการรายงานว่า ในปีนี้ระดับน้ำจากเขื่อนใหญ่เล็กของประเทศไทยในช่วงฤดูร้อน...

ปภ.วางมาตรการรับมือและแก้ไขปัญหาภัยแล้ง ใช้กลไกระบบบัญชาการเหตุการณ์ บริหารจัดการ – จัดสรรน้ำทั่วถึง มีประสิทธิภาพสูงสุด

แม้สถานการณ์น้ำในอ่างเก็บน้ำและแหล่งน้ำธรรมชาติมีปริมาณน้ำกักเก็บน้ำเพิ่มขึ้น แต่หลังจากสิ้นสุดฤดูฝนตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2562 ประเทศไทยตอนบนมีการกระจายของฝนลดลงอย่างต่อเนื่อง ทำ...

ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ผู้นำด้านดิจิทัลทรานส... ชไนเดอร์ อิเล็คทริค แนะ 7 วิธี เช็กระบบไฟฟ้า เพิ่มความปลอดภัย รับมือหยุดยาวเทศกาลสงกรานต์ — ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ผู้นำด้านดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชั่น ในการจัดก...

เทศกาลสงกรานต์เป็นช่วงเวลาแห่งความสุขและก... สงกรานต์นี้ เดินทางอย่างไร้กังวล! FWD ประกันชีวิต แจกประกันอุบัติเหตุฟรี 30,000 สิทธิ์ — เทศกาลสงกรานต์เป็นช่วงเวลาแห่งความสุขและการเดินทาง เพื่อช่วยลดควา...

นางสาวกาญจนา ภูพิพัฒน์ผล รองผู้อำนวยการสำ... กทม. เดินหน้ากำจัดปลาหมอคางดำ ลดผลกระทบเกษตรกร-แปรรูปสร้างรายได้ — นางสาวกาญจนา ภูพิพัฒน์ผล รองผู้อำนวยการสำนักพัฒนาสังคม รักษาราชการแทนผู้อำนวยการสำนักพั...

นายเจษฎา จันทรประภา ผู้อำนวยการสำนักการระ... กทม. เร่งถ่ายเทไหลเวียนน้ำในคลองช่องนนทรี เตรียมขุดลอกดินเลน-ทำความสะอาดท่อลอด — นายเจษฎา จันทรประภา ผู้อำนวยการสำนักการระบายน้ำ (สนน.) กทม. กล่าวชี้แจงกร...

กทม. เตรียมพร้อมระบบระบายน้ำรองรับสถานการณ์ฝน

นายเจษฎา จันทรประภา ผู้อำนวยการสำนักการระบายน้ำ (สนน.) กทม. กล่าวกรณีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) แจ้งเตือนสถานการณ์น้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก และน้ำท่วมขังว่า กทม. ได้จัดทำแผนเตรียมความพร้อมด้านระบบระบายน้ำ เพื่อรองรับสถานการณ์ฝนตกหนัก โดยใช้แผน...