สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 7 เผย คณะทำงานพัฒนาคุณภาพข้อมูลด้านพืช ชูข้อมูลการผลิตพืช 5 ชนิด ได้แก่ ข้าวนาปรัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันสำปะหลัง ปาล์มน้ำมัน และยางพารา พร้อมแจงสถานการณ์การผลิต ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก เก็บเกี่ยว และผลผลิต ในแหล่งผลิตภาคกลาง 9 จังหวัด
นางอัญชนา ตราโช ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 7 จังหวัดชัยนาท (สศท.7) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) ในฐานะประธานคณะทำงานพัฒนาคุณภาพข้อมูลด้านพืช ภาคกลาง ได้จัดประชุมคณะทำงานพัฒนาคุณภาพข้อมูลด้านพืช ภาคกลาง ครั้งที่ 2/2558 ในพื้นที่ภาคกลาง 9 จังหวัด (ชัยนาท สิงห์บุรี ลพบุรี อ่างทอง สระบุรี พระนครสรีอยุธยา นนทบุรี กรุงเทพมหานคร และ ปทุมธานี) เพื่อพิจารณาข้อมูลการผลิตพืช 5 ชนิด ประกอบด้วย ข้าวนาปรัง ปี 2558 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ปีเพาะปลูก 2557/58 มันสำปะหลังโรงงานปี 2558 ปาล์มน้ำมันและยางพาราปี 2557 ซึ่งที่ประชุมพิจารณาและมีมติให้ความเห็นชอบ ข้อมูลการผลิตพืชทั้ง 5 ชนิด (ข้อมูล ณ 2สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ตุลาคม 2558) ดังนี้
ข้าวนาปรัง ปี 2558 (9 จังหวัด) มีเนื้อที่เพาะปลูกรวม จังหวัดชัยนาท,53จังหวัดชัยนาท,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่78 ไร่ ลดลงจากปีที่แล้ว จังหวัดชัยนาท,445,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่78 ไร่ หรือ ร้อยละ 49 มีเนื้อที่เก็บเกี่ยว จังหวัดชัยนาท,52จังหวัดชัยนาท,269 ไร่ ลดลงจากปีที่แล้ว จังหวัดชัยนาท,4สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่,766 ไร่ หรือร้อยละ 48 โดยให้ผลผลิตต่อเนื้อที่เพาะปลูก 675 กก./ไร่ เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว จังหวัดชัยนาทสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ กก./ไร่ หรือร้อยละ 2 มีผลผลิตต่อเนื้อที่เก็บเกี่ยว 679 กก./ไร่ เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว 2 กก./ไร่ หรือร้อยละ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่.3สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปีเพาะปลูก 2557/58 (ลพบุรี ชัยนาท สระบุรี) มีเนื้อที่เพาะปลูกรวม 4สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่5,637 ไร่ ลดลงจากปีที่แล้ว 6,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่2จังหวัดชัยนาท ไร่ หรือร้อยละ จังหวัดชัยนาท เนื้อที่เก็บเกี่ยว รวม 36สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่,373 ไร่ ลดลงจากปีที่แล้ว จังหวัดชัยนาท2,จังหวัดชัยนาท92 ไร่ หรือ ร้อยละ 3 ผลผลิตต่อเนื้อที่เพาะปลูก 58จังหวัดชัยนาท กก./ไร่ ลดลงจากปีที่แล้ว 43 กก./ไร่ หรือร้อยละ 7 และผลผลิตต่อเนื้อที่เก็บเกี่ยว 654 กก./ไร่ ลดลงจากปีที่แล้ว 35 กก./ไร่ หรือร้อยละ 5
มันสำปะหลังโรงงาน ปี 2558 (ลพบุรี ชัยนาท สระบุรี) เนื้อที่เพาะปลูกรวม 363,77สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ ไร่ เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว จังหวัดชัยนาท6,246 ไร่ หรือร้อยละ 5 เนื้อที่เก็บเกี่ยว รวม 349,378 ไร่ เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว 33,7จังหวัดชัยนาท3 ไร่ หรือร้อยละ จังหวัดชัยนาทจังหวัดชัยนาท ผลผลิตต่อเนื้อที่เพาะปลูก 3,27สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ กก./ไร่ เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว จังหวัดชัยนาท43 กก./ไร่ หรือ ร้อยละ 5 ผลผลิตต่อเนื้อที่เก็บเกี่ยว 3,4สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่4 กก./ไร่ ลดลงจากปีที่แล้ว 39 กก./ไร่ หรือร้อยละ จังหวัดชัยนาท
ปาล์มน้ำมัน ปี 2557 (ลพบุรี สิงห์บุรี สระบุรี ปทุมธานี ) เนื้อที่ยืนต้น รวม จังหวัดชัยนาท9,8จังหวัดชัยนาทจังหวัดชัยนาท ไร่ เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว 378 ไร่ หรือร้อยละ 2 เนื้อที่ให้ผลรวม จังหวัดชัยนาท6,795 ไร่ เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว 4,447 ไร่ หรือร้อยละ 36 ผลผลิตต่อไร่ 3,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่3สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ กก./ไร่ ลดลงจากปีที่แล้ว 376 กก./ไร่ หรือร้อยละ จังหวัดชัยนาทจังหวัดชัยนาท
ยางพารา ปี 2557 (ลพบุรี สระบุรี ปทุมธานี ) เนื้อที่ยืนต้นรวม 3,467 ไร่ เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว 7จังหวัดชัยนาท ไร่ หรือร้อยละ 2 เนื้อที่กรีดรวม จังหวัดชัยนาท,4สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่4 ไร่ เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว 338 ไร่ หรือร้อยละ 32 และผลผลิตต่อไร่ จังหวัดชัยนาท53 กก./ไร่ ลดลงจากปีที่แล้ว 6 กก./ไร่ หรือร้อยละ 4
ทั้งนี้ ท่านที่สนใจต้องการสอบถามข้อมูลและสถานการณ์การผลิตเพิ่มเติมในจังหวัดดังกล่าวข้างต้น สามารถสอบถามได้ที่ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 7 จังหวัดชัยนาท โทร. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่56-4สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่5สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่5-8 หรืออีเมล [email protected]
นางธัญญ์พิชชา เถระรัชชานนท์ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 พิษณุโลก (สศท.2) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เปิดเผยว่ากล้วยน้ำว้ามะลิอ่องนับเป็นพืชเศรษฐกิจของจังหวัดพิษณุโลก หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องในพื้นที่จึงมีนโยบายส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาปลูกกล้วยน้ำว้ามะลิอ่องเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากเป็นพืชที่มีโอกาสทางตลาด และมีความต้องการในอุตสาหกรรมการแปรรูป โดยกล้วยน้ำว้าสดที่ใช้เป็นวัตถุดิบมีทั้งในจังหวัดและต่างจังหวัด (สุโขทัย อุตรดิตถ์ กำแพงเพชร และ ตาก) ซึ่งกล้วยตากบางกระทุ่มเป็นสินค้า GI
สศท. 7 เผยผลศึกษาการบริหารจัดการ "ฟางข้าว" ในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคกลาง เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม
—
นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 7 ช...
'ปลานิล' สินค้าเกษตรทางเลือก จ.นครราชสีมา เสริมรายได้เกษตรกร แนะแปรรูปเพิ่มมูลค่า
—
นางสุจารีย์ พิชา ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 5 นครราชสีมา (...
"ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ" สินค้า GI เริ่มออกตลาดปลาย พ.ค. นี้ สศท.11 เชิญชวนเที่ยวงาน "เทศกาลทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ ปี 2565" 9 - 15 มิ.ย. นี้
—
นางประเทือง...
สศท.8 โชว์ "กลุ่มกาแฟบ้านถ้ำสิงห์" จ.ชุมพร แปรรูปกาแฟโรบัสต้า สร้างกำไรกลุ่มปีละ 21 ล้านบาท
—
นายนิกร แสงเกตุ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 สุร...
'ลองกองวังขุม' แปลงใหญ่ จ.สุราษฎร์ธานี คุณภาพมาตรฐาน GAP รสชาติเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว สศท.8 เชิญชวนบริโภค ขณะนี้ออกตลาดแล้ว
—
นางพัชรารัตน์ ลิ้มศิริกุล ผู้...
ปีนี้อากาศดี ลำไยภาคเหนือติดดอกมาก ผลผลิตรวมกว่า 9.7 แสนตัน ออกตลาดมากสุด ส.ค. 64 สศท.1 เชิญชวนบริโภคลำไยคุณภาพ ช่วยเหลือเกษตรกร
—
นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำ...
กองทุน FTA หนุนเกษตรกรกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเลี้ยงโคเนื้อบ้านแสนแก้ว จ.ศรีสะเกษ สร้างรายได้ ยกระดับมาตรฐานการผลิตโคเนื้อ
—
นายนิกร แสงเกตุ ผู้อำนวยการสำนักงาน...
สศท.7 โชว์แปลงเรียนรู้เกษตรอัจฉริยะ ศกอ. จ.สุพรรณบุรี ดึงเทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
—
นางสาวสมบัติ พุทธา รักษาราชการแทนผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจกา...
'นมคุณภาพสูงล้านนา' เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง ยกระดับมาจรฐานการผลิตน้ำนมโค สู่การเพิ่มรายได้เกษตรกร
—
นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่...