เปิดผลศึกษาโซนนิ่งข้าว สศท.4 เจาะพื้นที่ อ.ซำสูง แจงพื้นที่-ต้นทุน แนะอาชีพเสริม เพิ่มรายได้เกษตรกร

          สศท.4 เผย ผลการศึกษาแนวทางการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจสินค้าเกษตรที่สำคัญ กรณีสินค้าข้าว ในอำเภอซำสูง จังหวัดขอนแก่น แจง ต้นทุนการผลิตในพื้นที่เหมาะสมและไม่เหมาะสม แนะ ส่งเสริมปลูกผัก ปลอดสารพิษและพืชฤดูแล้ง เพื่อเป็นอาชีพเสริมเพิ่มรายได้แก่เกษตรกร
          นางราตรี พูนพิริยะทรัพย์ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 4 จังหวัดขอนแก่น (สศท.4) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก) เปิดเผยถึงผลการการศึกษาแนวทางการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจสินค้าเกษตรที่สำคัญ (Zoning) กรณีสินค้าข้าว ของอำเภอซำสูง จังหวัดขอนแก่น โดยผลการศึกษา พบว่า อำเภอ ซำสูง มีพื้นที่ทางการเกษตร จำนวนทั้งสิ้น ราตรี พูนพิริยะทรัพย์สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ราตรี พูนพิริยะทรัพย์,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่72 ไร่ เป็นพื้นที่ความเหมาะสมในการปลูกข้าวระดับมากและ ปานกลาง ( Sราตรี พูนพิริยะทรัพย์ และ S2 ) จำนวน 32,949 ไร่ มีการปลูกข้าวจริงจำนวน 29,573 ไร่ และเป็นพื้นที่ไม่เหมาะสมในการปลูกข้าว (N) จำนวน 68,ราตรี พูนพิริยะทรัพย์23 ไร่ โดยมีการปลูกข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสม จำนวน ราตรี พูนพิริยะทรัพย์8,674 ไร่ ทั้งนี้ แต่ละตำบลมีการใช้ประโยชน์จากพื้นที่เหมาะสมเพื่อปลูกข้าวจริง และยังคงมีการปลูกข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสมบ้างเพียงเล็กน้อย เพื่อการบริโภคในครัวเรือน 
          สำหรับการศึกษาด้านต้นทุน พบว่า พื้นที่ที่เหมาะสมมากและปานกลาง มีต้นทุนเฉลี่ย 4,38ราตรี พูนพิริยะทรัพย์ บาทต่อไร่ เป็นค่าแรงงานด้านเก็บเกี่ยวมากที่สุด ร้อยละ 33 รองลงมา คือ เป็นค่าแรงงานในการปลูก ร้อยละ ราตรี พูนพิริยะทรัพย์4 และ ค่าปุ๋ย ร้อยละ ราตรี พูนพิริยะทรัพย์3 ตามลำดับ ได้ผลผลิตเฉลี่ย 5ราตรี พูนพิริยะทรัพย์ราตรี พูนพิริยะทรัพย์.67 กิโลกรัมต่อไร่ ขายได้ ราตรี พูนพิริยะทรัพย์ราตรี พูนพิริยะทรัพย์.5สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ บาทต่อกิโลกรัม รายได้ 5,884 บาทต่อไร่ มีกำไรสุทธิเฉลี่ย ราตรี พูนพิริยะทรัพย์,5สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่3 บาทต่อไร่ 
          ส่วนต้นทุนการผลิตข้าวในพื้นที่ที่ไม่เหมาะสม (N) พบว่า มีต้นทุนเฉลี่ย 5,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ราตรี พูนพิริยะทรัพย์3 บาทต่อไร่ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นค่าเก็บเกี่ยว ร้อยละ 29 รองลงมา คือ ค่าปุ๋ยเคมี ร้อยละ 24 และค่าเตรียมดิน ร้อยละ ราตรี พูนพิริยะทรัพย์2 ได้ผลผลิตเฉลี่ย 35ราตรี พูนพิริยะทรัพย์.26 กิโลกรัมต่อไร่ ขายได้ ราตรี พูนพิริยะทรัพย์ราตรี พูนพิริยะทรัพย์.5สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ บาทต่อกิโลกรัม คิดเป็นรายได้ 4,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่39 บาทต่อไร่ ขาดทุนเฉลี่ย 974 บาทต่อไร่ เนื่องจากต้นทุนการผลิตสูง จากการใช้แรงงานในการเก็บเกี่ยวผลผลิต เตรียมดิน และใช้ปุ๋ยเคมีในปริมาณมาก ทำให้เกษตรกรขายข้าวขาดทุน (เป็นการคิดต้นทุนทั้งหมด ทั้งต้นทุนเป็นเงินสดและไม่เป็นเงินสด) จึงควรแนะนำให้ปลูกเพียงเล็กน้อยเพื่อบริโภคเท่านั้น ส่วนพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมในการปลูกข้าว ควรให้ปรับเปลี่ยนไปปลูกอ้อย มันสำปะหลัง เนื่องจากได้ผลตอบแทนที่สูงกว่า โดยการปลูกอ้อยได้กำไรสุทธิ 4,6ราตรี พูนพิริยะทรัพย์ราตรี พูนพิริยะทรัพย์ บาทต่อไร่ และปลูกมันสำปะหลังจะได้กำไรสุทธิ ราตรี พูนพิริยะทรัพย์,238 บาทต่อไร่ 
          อย่างไรก็ตาม จากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและสภาพทางเศรษฐกิจ โดยสอบถามความคิดเห็นของเกษตรกร พบว่า ควรพัฒนาการผลิตข้าวในพื้นที่เหมาะสมมากและเหมาะสมปานกลาง เพื่อเพิ่มผลผลิตข้าว โดยมีการอบรมถ่ายทอดความรู้ สนับสนุนการใช้เมล็ดข้าวพันธุ์ดี รวมทั้งหา วิธีลดต้นทุนการผลิต โดยส่งเสริมเทคโนโลยี เช่น เครื่องหยอดเพื่อลดการใช้เมล็ดพันธุ์ รถเกี่ยวข้าวเพื่อลดค่าแรงงาน ลดการใช้ปุ๋ยเคมี เป็นต้น
          ทั้งนี้ พืชทางเลือกอื่นที่ควรส่งเสริมให้ปลูกเพิ่มรายได้ ได้แก่ ปลูกผักปลอดสารพิษเช่น ผักบุ้ง ผักปรัง คื่นช่าย ต้นหอม ผักชี โหระพา กะเพรา สะระแหน่ พริก ดอกขจร ถั่วฝักยาว กวางตุ้ง คะน้า กระหล่ำปลี แตงกวา และ มะเขือ เป็นต้น เนื่องจากได้กำไรสุทธิเฉลี่ย 279,36สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ บาทต่อไร่ หรือปลูกพืชฤดูแล้ง เช่น ถั่วลิสง มันแกว และข้าวโพดหวานซึ่งใช้ระยะเวลาการปลูกประมาณ 3 เดือน แต่ได้ผลตอบแทนสูง โดยถั่วลิสงได้ผลตอบแทน 4,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ บาทต่อไร่ มันแกว ราตรี พูนพิริยะทรัพย์,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ บาทต่อไร่ และข้าวโพดหวาน 2,สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ บาทต่อไร่ ทั้งนี้ การส่งเสริมปลูกพืชต่างๆ ควรคำนึงถึงตลาดและแหล่งรับซื้อเป็นสำคัญในพื้นที่นั้นๆ อย่างเหมาะสมด้วย


ข่าวสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่+สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรวันนี้

กล้วยน้ำว้ามะลิอ่อง จ.พิษณุโลก สินค้าเกษตรที่มีศักยภาพ ทดแทนการผลิตข้าวนาปีในพื้นที่ไม่เหมาะสม สร้างรายได้เกษตรกร

นางธัญญ์พิชชา เถระรัชชานนท์ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 พิษณุโลก (สศท.2) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เปิดเผยว่ากล้วยน้ำว้ามะลิอ่องนับเป็นพืชเศรษฐกิจของจังหวัดพิษณุโลก หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องในพื้นที่จึงมีนโยบายส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาปลูกกล้วยน้ำว้ามะลิอ่องเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากเป็นพืชที่มีโอกาสทางตลาด และมีความต้องการในอุตสาหกรรมการแปรรูป โดยกล้วยน้ำว้าสดที่ใช้เป็นวัตถุดิบมีทั้งในจังหวัดและต่างจังหวัด (สุโขทัย อุตรดิตถ์ กำแพงเพชร และ ตาก) ซึ่งกล้วยตากบางกระทุ่มเป็นสินค้า GI

นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษ... สศท. 7 เผยผลศึกษาการบริหารจัดการ "ฟางข้าว" ในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคกลาง เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม — นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 7 ช...

นางสุจารีย์ พิชา ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐ... 'ปลานิล' สินค้าเกษตรทางเลือก จ.นครราชสีมา เสริมรายได้เกษตรกร แนะแปรรูปเพิ่มมูลค่า — นางสุจารีย์ พิชา ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 5 นครราชสีมา (...

นายนิกร แสงเกตุ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐก... สศท.8 โชว์ "กลุ่มกาแฟบ้านถ้ำสิงห์" จ.ชุมพร แปรรูปกาแฟโรบัสต้า สร้างกำไรกลุ่มปีละ 21 ล้านบาท — นายนิกร แสงเกตุ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 สุร...

นางสาวสมบัติ พุทธา รักษาราชการแทนผู้อำนวย... สศท.7 โชว์แปลงเรียนรู้เกษตรอัจฉริยะ ศกอ. จ.สุพรรณบุรี ดึงเทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต — นางสาวสมบัติ พุทธา รักษาราชการแทนผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจกา...

นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษ... 'นมคุณภาพสูงล้านนา' เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง ยกระดับมาจรฐานการผลิตน้ำนมโค สู่การเพิ่มรายได้เกษตรกร — นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่...