สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เดินหน้าแผนจัดเก็บข้อมูลการผลิต ข้าวนาปรัง และถั่วเหลืองรุ่น 2 ปีการเพาะปลูก 2558 แล้ว ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 4 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง และแม่ฮ่องสอน เผย เริ่มลงพื้นที่แล้วเมษายนนี้
นายอนุสรณ์ พรชัย ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เชียงใหม่ (สศก.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยถึงแผนการออกจัดเก็บข้อมูลการสำรวจการผลิตข้าวนาปรัง และถั่วเหลืองรุ่น 2 ปีการเพาะปลูก 2558 ด้วยวิธีตัวอย่าง (List Frame sampling) ที่ผนวกเอาการสำรวจข้อมูลผลผลิตต่อไร่โดยวิธีการตั้งแปลงเก็บเกี่ยวผลผลิต (Crop Cutting) และการสำรวจผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยวเข้ามาไว้เป็นการดำเนินการไปพร้อมๆ กัน ภายใต้แผนแบบการสุ่มตัวอย่างเดียวกันตามหลักทฤษฎีทางสถิติ ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 4 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง และแม่ฮ่องสอน โดยจะออกทำการเก็บรวบรวมข้อมูลภายในเขตหมู่บ้านตัวอย่าง ที่ทำการเพาะปลูกข้าวนาปรัง และถั่วเหลืองรุ่น 2 ที่ได้ถูกกำหนดไว้โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างจากหมู่บ้านตัวอย่างจากส่วนกลางในช่วงเดือนเมษายน 2558
สำหรับการสำรวจการผลิตข้าวนาปรัง ด้วยวิธีตัวอย่าง (List Frame Sampling) จำนวน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์83 หมู่บ้าน แยกเป็นเชียงใหม่ 95 หมู่บ้าน ลำพูน 33 หมู่บ้าน ลำปาง 43 หมู่บ้าน แม่ฮ่องสอน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์2 หมู่บ้าน และสำรวจผลผลิตต่อไร่ข้านาปรังแบบ Crop Cutting จำนวน 54 หมู่บ้าน แยกเป็นเชียงใหม่ 33 หมู่บ้าน ลำพูน 9 หมู่บ้าน และลำปาง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์2 หมู่บ้าน
ส่วนการสำรวจการผลิตถั่วเหลืองรุ่น 2 ด้วยวิธีตัวอย่าง (List Frame Sampling) จำนวน 44 หมู่บ้าน แยกเป็น เชียงใหม่ 2สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ หมู่บ้าน ลำพูน 2 หมู่บ้าน ลำปาง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์4 หมู่บ้าน และ แม่ฮ่องสอน 8 หมู่บ้าน และสำรวจผลผลิตต่อไร่ถั่วเหลืองรุ่น 2 แบบ Crop Cutting จำนวน 28 หมู่บ้าน แยกเป็นเชียงใหม่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์4 หมู่บ้าน ลำปาง 8 หมู่บ้าน และ แม่ฮ่องสอน 6 หมู่บ้าน โดยข้อมูลข้าวนาปรังและถั่วเหลืองรุ่น 2 ที่ได้จากการสอบถาม สศก. จะนำมาทำการวิเคราะห์ทางสถิติ เพื่อหาปริมาณผลผลิตของข้าวนาปรังและถั่วเหลืองรุ่น 2 ที่เกษตรกรเพาะปลูกอยู่ ว่ามีปริมาณเท่าใดใด เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาใช้ในการแก้ไขปัญหาในเรื่องต่างๆ ให้กับเกษตรกรได้อย่างถูกต้อง ซึ่งผลที่ได้จะเป็นประโยชน์แก่เกษตรกรโดยตรง
ดังนั้น สศก. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึงขอความร่วมมือจากเกษตรกรผู้ที่ทำการเพาะปลูกข้าวนาปรังและถั่วเหลืองรุ่น 2 ทั้ง 4 จังหวัด ในแต่ละหมู่บ้านที่ตกเป็นตัวอย่างในการสำรวจ และขอขอบคุณเกษตรกรที่เจ้าหน้าที่ สศก.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้สอบถาม และให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูลที่เป็นประโยนช์กับเจ้าหน้าที่ด้วยดีมาโดยตลอด ซึ่งข้อมูลที่ได้จัดเก็บมาจะเป็นประโยชน์โดยตรงแก่ตัวเกษตรกรเอง ทั้งนี้ หากต้องการสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถสอบถามได้ที่ สศก. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เชียงใหม่ โทร. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่53 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์2กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 3กระทรวงเกษตรและสหกรณ์9 ในวันและเวลาราชการ
นางธัญญ์พิชชา เถระรัชชานนท์ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 พิษณุโลก (สศท.2) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เปิดเผยว่ากล้วยน้ำว้ามะลิอ่องนับเป็นพืชเศรษฐกิจของจังหวัดพิษณุโลก หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องในพื้นที่จึงมีนโยบายส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาปลูกกล้วยน้ำว้ามะลิอ่องเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากเป็นพืชที่มีโอกาสทางตลาด และมีความต้องการในอุตสาหกรรมการแปรรูป โดยกล้วยน้ำว้าสดที่ใช้เป็นวัตถุดิบมีทั้งในจังหวัดและต่างจังหวัด (สุโขทัย อุตรดิตถ์ กำแพงเพชร และ ตาก) ซึ่งกล้วยตากบางกระทุ่มเป็นสินค้า GI
สศท. 7 เผยผลศึกษาการบริหารจัดการ "ฟางข้าว" ในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคกลาง เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม
—
นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 7 ช...
'ปลานิล' สินค้าเกษตรทางเลือก จ.นครราชสีมา เสริมรายได้เกษตรกร แนะแปรรูปเพิ่มมูลค่า
—
นางสุจารีย์ พิชา ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 5 นครราชสีมา (...
"ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ" สินค้า GI เริ่มออกตลาดปลาย พ.ค. นี้ สศท.11 เชิญชวนเที่ยวงาน "เทศกาลทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ ปี 2565" 9 - 15 มิ.ย. นี้
—
นางประเทือง...
สศท.8 โชว์ "กลุ่มกาแฟบ้านถ้ำสิงห์" จ.ชุมพร แปรรูปกาแฟโรบัสต้า สร้างกำไรกลุ่มปีละ 21 ล้านบาท
—
นายนิกร แสงเกตุ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 สุร...
'ลองกองวังขุม' แปลงใหญ่ จ.สุราษฎร์ธานี คุณภาพมาตรฐาน GAP รสชาติเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว สศท.8 เชิญชวนบริโภค ขณะนี้ออกตลาดแล้ว
—
นางพัชรารัตน์ ลิ้มศิริกุล ผู้...
ปีนี้อากาศดี ลำไยภาคเหนือติดดอกมาก ผลผลิตรวมกว่า 9.7 แสนตัน ออกตลาดมากสุด ส.ค. 64 สศท.1 เชิญชวนบริโภคลำไยคุณภาพ ช่วยเหลือเกษตรกร
—
นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำ...
กองทุน FTA หนุนเกษตรกรกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเลี้ยงโคเนื้อบ้านแสนแก้ว จ.ศรีสะเกษ สร้างรายได้ ยกระดับมาตรฐานการผลิตโคเนื้อ
—
นายนิกร แสงเกตุ ผู้อำนวยการสำนักงาน...
สศท.7 โชว์แปลงเรียนรู้เกษตรอัจฉริยะ ศกอ. จ.สุพรรณบุรี ดึงเทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
—
นางสาวสมบัติ พุทธา รักษาราชการแทนผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจกา...
'นมคุณภาพสูงล้านนา' เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง ยกระดับมาจรฐานการผลิตน้ำนมโค สู่การเพิ่มรายได้เกษตรกร
—
นางอังคณา พุทธศรี ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่...