จากงานวิจัยพบว่า ร้อยละ 5-10 ของกลุ่มโรควิตกกังวลและซึมเศร้าที่เกิดจากความเครียด ที่พบในเด็ก ส่วนมากจะพบว่าเป็นความเครียดที่เข้าสู่ระดับกลางถึงรุนแรง เป็นปัญหาที่ไม่ควรมองข้ามสำหรับผู้ปกครองพ่อแม่ทุกคน เพราะระดับที่รุนแรงและมีผลกระทบอย่างมาก
การสังเกตพฤติกรรมนับว่าสำคัญมาก สัญญาณเตือนสำคัญที่ผู้ปกครองคุณพ่อคุณแม่จะสังเกตได้ว่าลูกมีความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้า คือ ชอบเก็บตัว ไม่สุงสิงกับใคร ผลการเรียนตก เหม่อลอย ไม่อยากทานอาหาร มีปัญหาเรื่องการนอน และยิ่งอันตรายหากมีการบอกลา การสั่งเสีย การที่บอกว่าตัวเองไม่มีคุณค่า ไม่อยากมีชีวิตอยู่แล้ว สัญญาณเหล่านี้จะเป็นตัวที่บอกได้ว่า เด็กๆ เหล่านี้อาจจะมีความเสี่ยงในการพยายามฆ่าตัวตาย
ปัจจัยเสี่ยงของความเครียดและโรคซึมเศร้าในวัยเรียนมีหลายประการ เช่น
โรคซึมเศร้าเป็นโรคที่ไม่สามารถผ่านพ้นไปได้ง่าย ๆ ด้วยตนเอง วัยเรียนที่มีภาวะซึมเศร้า หากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง อาการมักจะไม่ดีขึ้นเอง ปล่อยไว้นานอาการจะแย่ลง ดังนั้นการรักษาจึงต้องเป็นการวางแผนในระยะยาว เพื่อแก้ไขอาการของโรคและสาเหตุของการเกิดโรค ดังนี้
1.พบจิตแพทย์เพื่อประเมินอาการและวางแผนการรักษาอย่างเป็นระบบ หากจำเป็นต้องใช้ยาควรใช้ เพื่อผลการรักษาที่ดี
3.ผู้ปกครองต้องให้กำลังใจ เปิดใจพูดคุยกับลูกอย่างสม่ำเสมอ ฟังความคิดเห็น ความรู้สึกของพวกเขาโดยไม่ตัดสิน และเข้าร่วมกระบวนการรักษาอย่างต่อเนื่อง
ผลกระทบของภาวะซึมเศร้านั้น นอกเหนือจากการกระทบต่อการเรียน อาจจะกระทบความสัมพันธ์ในครอบครัว ทักษะการเข้าสังคมและผลต่อการใช้ชีวิตในระยะยาว โรคซึมเศร้าและความเครียดในวัยเรียนไม่ใช่ปัญหาที่ควรมองข้าม การให้ความสำคัญกับสุขภาพจิตของเด็กและเยาวชนเป็นเรื่องสำคัญที่สุดในการสร้างอนาคตที่ดีของพวกเขา ดังนั้นการสังเกตและให้การช่วยเหลือแต่เนิ่นๆ จะช่วยเปลี่ยนชีวิตและป้องกันปัญหาระยะยาวของวัยเรียนที่จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ในอนาคต การได้รับการรักษาและความช่วยเหลือที่ถูกต้องในช่วงเวลาที่เหมาะสมสามารถช่วยให้พวกเขาผ่านพ้นความยากลำบากนี้ไปได้.
จากงานวิจัยพบว่า ร้อยละ 5-10 ของกลุ่มโรควิตกกังวลและซึมเศร้าที่เกิดจากความเครียด ที่พบในเด็ก ส่วนมากจะพบว่าเป็นความเครียดที่เข้าสู่ระดับกลางถึงรุนแรง เป็นปัญหาที่ไม่ควรมองข้ามสำหรับผู้ปกครองพ่อแม่ทุกคน เพราะระดับที่รุนแรงและมีผลกระทบอย่างมาก การสังเกตพฤติกรรมนับว่าสำคัญมาก สัญญาณเตือนสำคัญที่ผู้ปกครองคุณพ่อคุณแม่จะสังเกตได้ว่าลูกมีความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้า คือ ชอบเก็บตัว ไม่สุงสิงกับใคร ผลการเรียนตก เหม่อลอย ไม่อยากทานอาหาร มีปัญหาเรื่องการนอน และยิ่งอันตรายหากมีการบอกลา การสั่งเสีย
การฆ่าตัวตาย ไม่ใช่แค่โรคซึมเศร้าที่เป็นต้นเหตุเสมอไป
—
เมื่อพูดถึง "การฆ่าตัวตาย" หลายคนมักนึกถึงโรคซึมเศร้าเป็นอันดับแรก แต่ในความเป็นจริง ปัจจัยที่ผลัก...
ซึมเศร้า - แพนิค - วิตกกังวล วิธีแยกอาการ และแนวทางการรักษา
—
ทุกวันนี้ คำว่า "ซึมเศร้า" "แพนิค" และ "วิตกกังวล" ถูกพูดถึงกันมากขึ้น แต่หลายคนยังแยกไม่ออก...
ทำไมความเศร้าบางครั้งอาจไม่ใช่แค่โรคซึมเศร้า? รู้จัก "โรคไบโพลาร์" ที่คนส่วนใหญ่ไม่รู้
—
ในยุคที่ทุกคนต้องเผชิญกับความเครียดและปัญหาต่าง ๆ จากการใช้ชีวิตใ...
ภาวะซึมเศร้าซ่อนเร้น Masked Depression ภัยเงียบที่คุณอาจมองไม่เห็น
—
มาทำความความรู้จักกับ "ภาวะซึมเศร้าซ่อนเร้น" หรือ Masked Depression เป็นภาวะที่หลายคน...
อินเตอร์เนชั่นแนล เอสโอเอส เปิดผลสำรวจเนื่องในวัน "Blue Monday": โรควิตกกังวล โรคซึมเศร้า และโรคแพนิค ครองแชมป์ปัญหาสุขภาพจิตในที่ทำงาน
—
ความเครียดและควา...
ต้องทานยาไปตลอดชีวิตไหม? มาทำความเข้าใจการรักษาโรคซึมเศร้ากันเถอะ
—
โรคซึมเศร้าเป็นโรคที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยหลายล้านคนทั่วโลก แม้ว่...
4 ขั้นตอนการดูแลจิตใจตัวเองของผู้ใกล้ชิดผู้ป่วยซึมเศร้า
—
"เหนื่อยไหม?" คำถามที่แพทย์มักถามญาติผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเสมอ เพราะการดูแลคนที่เรารักที่กำลังเผชิญ...
โรคซึมเศร้าไม่มีทางออกจริงหรือ? รู้จักทางเลือกในการรักษาเพื่อชีวิตที่ดีขึ้น
—
"โรคซึมเศร้า" อาจเป็นคำที่หลายคนคุ้นเคย แต่ไม่ใช่ทุกคนที่รู้ว่าโรคนี้สามารถร...
การพัฒนาแอปพลิเคชัน "PHUP โฮมฮัก ฮีลใจ วัยทีน"
—
สถานการณ์สุขภาพจิตในประเทศไทยจากรายงานสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ภาวะด้านสังคม...